โรคและการรักษา

ภูมิแพ้อากาศ หรือ จมูกอักเสบจากภูมิแพ้ (Allergic Rhinitis) คือการอักเสบของเนื้อเยื่อจมูกเมื่อร่างกายของตัวเรานั้นมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้

อาการหูมีเสียงคือการที่ผู้ป่วยได้ยินเสียงรบกวนอาจจะได้ยินเสียงสูง หรือ เสียงลม โดยเสียงที่ได้ยินไม่ใช่เสียงที่มาจากภายนอก

สารที่หล่อเลี้ยงดวงตาได้แก่เลือด ชี่ และ สารจิง จะถูกนำไปหล่อเลี้ยงดวงตาโดยผ่านทางเส้นลมปราณการใช้สมองและสายตาเป็นเวลานานจะส่งผลให้ต่อเสินของหัวใจถูกทำลาย และทำลายชี่และเลือด ทำให้สารสำคัญต่างไปเลี้ยงดวงตาไม่พอเกิดอาการตาแห้ง

โรคสะเก็ดเงินมีชื่อโรคในทางแพทย์แผนจีนเรียกว่า“ไป๋ปี่”(白疕)เป็นโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยที่มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนังเป็นๆหายๆเป็นระยะเวลานาน

ภาวะกระดูกพรุนจะจัดอยู่ในกลุ่ม “กู่ปี้(骨痹)”“กู่เหว่ย(骨痿)” ในทางการแพทย์แผนจีนมีบันทึกในตำราสู้เวิ่น(素问)ระบุว่าไตมีความสัมพันธ์กับกระดูก

การใช้อาหารบำบัดโรคหมายถึง การอาศัยสารอาหารชนิดพิเศษที่มีอยู่ในอาหารมาประกอบกับวิธีการปรุงที่เหมาะสมเพื่อบำบัดโรค ซึ่งมีหลักการหลายประการ เช่น ทฤษฎีอินหยาง

ประเทศไทยที่มีอากาศร้อนตลอดทั้งปี แต่แพทย์จีนมักให้คำแนะนำว่าไม่ควรทานอาหารเย็นๆ อย่างเช่นน้ำเย็น น้ำแข็ง หรือไอศกรีม  

ในคัมภีร์กล่าวว่าสุขภาพของสตรีใช้เลือดเป็นพื้นฐาน ตามทฤษฎีศาสตร์การแพทย์จีนชี่สามารถสร้างเลือดและขับเคลื่อนผลักดันให้เลือดไหลเวียน

โดยอาการมีตั้งแต่อาการเล็กน้อยเช่น เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย หากกระทบการทำงานของสมองก็อาจทำให้วูบ หมดสติ ไปจนถึงอาการที่ส่งผลต่อการทำงานของหัวใจ

เป็นภาวะที่พบได้บ่อยมากอาการหนึ่งในช่วงระหว่างและหลังการทำเคมีบำบัด เป็นภาวะที่สร้างความทุกข์ทรมานให้ผู้ป่วยมะเร็งอย่างมากและนำไปสู่ภาวะทุพโภชนาการ

อาการนอนไม่หลับเป็นปัญหาหนึ่งที่ผู้ป่วยหลังติดเชื้อโควิดกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน มีรายงานรวบรวมข้อมูลจากหลายพื้นที่พบว่า 78.6%

จากการวินิจฉัยทางแพทย์แผนจีน โดยเริ่มจากการวิเคราะห์สีหน้าคนไข้ สีหน้าไม่ซีดแต่แดงคล้ำเล็กน้อย ลิ้นมีลักษณะฝ้าเหลืองหนา ชีพจรลื่นและแรง

สาเหตุพื้นฐานของการเกิดภาวะเบื่ออาหารในเด็กมักเกี่ยวข้องกับการทานอาหารที่ไม่เหมาะสมหรือขาดคุณค่าทางโภชนาการในเด็ก เมื่อระยะโรคดำเนินเป็นเวลานาน

ช่วงที่ผู้หญิงมีประจำเดือนเป็นช่วงที่BBTต่ำลง แพทย์จีนมองว่าการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในร่างกายมีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของอินหยาง

ภาวะประจำเดือนไม่มาหรือในชื่อภาษาจีนเรียกว่า “ ปี้จิง (闭经)” หมายถึง ผู้หญิงอายุ 16 ปีแล้วแต่ยังไม่เริ่มมีประจำเดือนหรือผู้หญิงที่เคยมีประจำเดือนมาก่อนแต่ต่อมาประจำเดือนขาดหายไป

ชี่พร่อง气虚 เกิดจากการทำงานของอวัยวะภายในน้อยลง ในชีวิตประจำวันเรามักพบอาการแบบนี้ค่อนข้างบ่อย พูดเสียงเบา ไม่อยากพูด เหนื่อยง่าย

ในมุมมองของศาสตร์การแพทย์แผนจีนการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะทำให้ม้ามและกระเพาะอาหารถูกทำลาย ทำให้เกิดอาหารตกค้าง มีความชื้นเสมหะ

โดยทางศาสตร์การแพทย์แผนจีน การนอนไม่หลับนั้นจะส่งผลกระทบต่อกระเพาะอาหารและม้าม ทำให้เกิดโรคทางระบบทางเดินอาหารได้ง่าย หากนอนไม่หลับเป็นระยะเวลานานจะส่งผลให้เกิดความเสียหายเรื้อรังต่ออวัยวะอื่นๆ

โรคตุ่มแข็งคันเรื้อรัง ในทางแพทย์แผนจีนมีชื่อเรียกว่า “หวันซือจู้เจี๋ย” (顽湿聚结)เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง ที่มีระยะการดำเนินของโรคยาวนาน มีอาการมีตุ่มแข็งที่แขนขาด้านนอกทั้งสองข้างร่วมกับมีอาการคัน

ภาวะมีบุตรยากในทางแพทย์แผนจีน ได้แบ่งสาเหตุออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ ไตอินพร่อง เลือดคั่งจากชี่ติดขัดและความร้อนชื้นอุดกั้น

ผู้ติดเชื้อโควิดจำนวนไม่น้อยที่ต้องเผชิญกับภาวะอาการ Long Covid  โดยอาการส่วนใหญ่ที่เราคุ้นเคยรู้จักกันดีอยู่แล้วเช่น ไอเรื้อรัง เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามตัว หายใจไม่อิ่ม ท้องอืดแน่น เป็นต้น แต่ในครั้งนี้ที่จะนำเสนอเคสตัวอย่างเป็นผู้ป่วยหลังจากที่หายจากโควิดแล้ว กลับมีอาการปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะบ่อย ซึ่งเป็นภาวะ Long Covid ที่เจอได้น้อยแต่ได้ผลดีในการรักษาแบบแพทย์แผนจีน

เส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 มีหน้าที่ส่งสัญญาณสู่กล้ามเนื้อ lateral rectus ซึ่งมีหน้าที่กลอกตาออกด้านนอก หากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 มีความผิดปกติ จะทําให้ผู้ป่วยไม่สามารถกลอกตาออกด้านนอกได้

โรคไขกระดูกเสื่อม (Myelodysplastic Syndromes ,MDS) เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในไขกระดูกที่ทำหน้าที่สร้างเม็ดเลือด

จุดฝังเข็มทั่วร่างกาย มี 700 กว่าจุด แต่นิยมใช้กันมีประมาณ 300 กว่าจุด การใช้จุดฝังเข็มมารักษาโรคต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับอวัยวะภายในระบบเส้นลมปราณ

หูอื้อ เป็นความผิดปกติอย่างหนึ่งของการได้ยิน เป็นอาการที่พบได้บ่อย มีอัตราการเกิดโรคที่ค่อนข้างสูง แต่อาการหูอื้อไม่ได้ร้ายแรงสามารถรักษาให้ดีขึ้นได้

ยาสมุนไพรจีนที่นิยมนำมาใช้ในการดูแลร่างกาย โดยขอเน้นไปที่การดูแลระบบทางเดินอาหารโดยตรง ฝูหลิง,ไป๋จู๋,ปั้นเซี่ย,ต้าจ่าว ,อี้อี่เหริน

เหตุผลของคน “ท้องอืด”ในแบบของแพทย์แผนจีนมีกลไกล 4 ประเภทที่ทำให้เกิดโรค 1. ความร้อนสะสม 2.เสมหะชื้น 3.ชี่ตับอุดกั้น 4.กระเพาะม้ามอ่อนแอ

“ท้องอืด” บ้างครั้งเกิดจากการที่เรารับประทานอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่สะอาดหรือรสจัดเกินไป ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน แต่ก็สามารถกลับมาเป็นปกติได้

ชาวจีนโบราณมีคำกล่าวที่ว่า “ต้นไม้จะแห้งตายเริ่มที่ราก คนเราถ้าสูงวัยให้ดูที่ขาก่อน” ดังนั้น การมีชีวิตที่ยืนยาวและมีสุขภาพดี ควรเริ่มต้นดูแลขาและเท้าเป็นอันดับแรก  

 ในทางแพทย์แผนจีนอาการตะคริวนั้นมีสาเหตุมาจาก 2 สาเหตุหลักใหญ่ๆ นั่นคือ “ความเย็น” และ “เลือด”

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้