ผิวหนัง

สัญญาณเตือน ที่เสี่ยงเป็นโรคริดสีดวงทวาร 1. ขณะขับถ่าย ถ่ายเป็นเลือดจำนวนมาก หรือมีเลือดติดกระดาษชำระ 2. มีติ่งเนื้อ หรือก้อนโผล่ออกมาจากรูทวาร

“ไป๋ปี่”(白疕)เป็นชื่อโรคผิวหนังชนิดหนึ่งในตำราแพทย์แผนจีน ที่มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนังเป็น ๆ หาย ๆ ลักษณะเด่นคือ ผิวมีลักษณะสีแดงหรือผื่นสีแดงนูน

เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่งที่มีการอักเสบเรื้อรังบริเวณต่อมไขมัน มักพบได้ตำแหน่งบริเวณที่มีการขับของต่อมไขมัน เช่น ใบหน้า ศีรษะ อก หลัง เป็นต้น

กวาซาบนใบหน้า เป็นวิธีการรักษาและปรนนิบัติผิวตามศาสตร์การแพทย์แผนจีน โดยการนำแผ่นหยกมาขูดเบาๆ บริเวณผิวหน้าตามเส้นลมปราณ

โรคสะเก็ดเงินมีชื่อโรคในทางแพทย์แผนจีนเรียกว่า“ไป๋ปี่”(白疕)เป็นโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยที่มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนังเป็นๆหายๆเป็นระยะเวลานาน

โรคตุ่มแข็งคันเรื้อรัง ในทางแพทย์แผนจีนมีชื่อเรียกว่า “หวันซือจู้เจี๋ย” (顽湿聚结)เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง ที่มีระยะการดำเนินของโรคยาวนาน มีอาการมีตุ่มแข็งที่แขนขาด้านนอกทั้งสองข้างร่วมกับมีอาการคัน

รักษาด้วยการฝังเข็ม โดยใช้หลักการรักษา ระบายไฟตับ กระตุ้นการไหลเวียนเลือด ขับพิษ ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดปลายประสาทหลังจากผื่นงูสวัดหายแล้ว และอาจมีอาการกำเริบช่วงที่อากาศเปลี่ยนแปลง

ในศาสตร์การแพทย์แผนจีนเรียกว่า "丹毒 ตานตู๋" คือ โรคผิวหนังชนิดหนึ่งมีลักษณะผิวหนังบริเวณนั้น เป็นผื่นสีแดงสดเหมือนสีชาดมีอาการอักเสบบวมแดง ที่เกิดจาการติดเชื้อแบคทีเรียของผิวหนังชั้นแท้ (Dermis) และเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังชั้นตื้น (Upper Subcutaneous Tissue) รวมถึงท่อน้ำเหลืองที่อยู่ใกล้เคียง โรคนี้จัดเป็นประเภทหนึ่งของโรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ (Cellulitis) แต่มีความรุนแรงน้อยกว่า

เฟิงเซาหย่าง(风瘙痒)ในทางแพทย์แผนจีน หมายถึง โรคผิวหนังที่ไม่ได้มีรอยโรคปฐมภูมิแต่มีอาการคันเป็นหลัก หลังการเกาจะเกิดรอยเกา รอยแผลตกสะเก็ด และรอยดำคล้ำ นานวันผิวหนังจะเริ่มหนาตัว ผิวจะมีลักษณะสากหยาบ

ภาวะที่ผิวหนังมีการอักเสบหลังจากการถูกแมลงกัดหรือต่อย หลังจากผิวหนังมีการสัมผัสกับพิษจากสารคัดหลั่งหรือขนบนตัวของแมลง มีอาการหลัก คือ เกิดตุ่มนูน บวมขึ้นที่ผิวหนัง โดยบริเวณที่ถูกกัดอาจปรากฎเป็นตุ่มน้ำ ตุ่มแข็ง หรือจุดแดง เรียงตัวแบบกระจาย โดยชนิดของพิษจากแมลงที่พบได้บ่อยได้แก่ ยุง ริ้น ไร แมลงก้นกระดก บุ้ง หมัด เหา เรือด มอด ผึ้ง เป็นต้น

เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดหน้าที่มีฤทธิ์อ่อนโยนกับผิว ใช้แล้วไม่เกิดการระคายเคือง และควรทดสอบการแพ้ก่อนใช้ผลิตภัณฑ์ใหม่ทุกครั้ง และสิ่งที่ควรระมัดระวัง การเลือกใช้เครื่องสำอาง เพื่อลดการอุดตันสะสมจนเกิดสิว

สำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคผิวหนัง ควรหลีกเลี่ยงการเกา หรือเลี่ยงสิ่งกระตุ้นที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง

ทำความเข้าใจการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีนสำหรับสาขาอายุรกรรมภายนอก

โรคอายุรกรรมภายนอก ได้แก่โรคที่เกิดขึ้นหรืออยู่ภายนอกของร่างกายที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตา มีรูปร่างยืนยันได้และมีความจำเป็นต้องมีรักษาด้วยยาใช้ภายนอก เช่น ฝี หนอง โรคผิวหนัง โรคทางทวารหนัก โรคบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ชาย โรคทรวงอก โรคหลอดเลือดระดับตื้น ติ่งเนื้อ ก้อนเนื้อ โรคตา หู จมูก ปาก ลำคอ แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก โรคจากแมลงมีพิษกัดต่อยต่างๆ

เฟ่ยจื่อ หรือ ผดร้อน เป็นโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยในฤดูร้อน ที่มีอากาศร้อนจัดหรือร้อนอบอ้าว อาการเด่นคือมีผื่นหรือตุ่มน้ำเล็กๆขึ้นบนผิวหนัง ร่วมกับมีเหงื่อออกมาก มักพบบ่อยในเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ บุคคลที่มีรูปร่างเจ้าเนื้อ หรือบุคคลที่ใส่เสื้อผ้ารัดรูป ค่อนข้างคับแน่น หรือผ้าเนื้อหนา

ผื่นแดง คัน เกิดได้ทุกส่วนของร่างกาย มักจะกำเริบได้ง่าย ระยะเวลาที่เป็นรวมถึงความรุนแรงของโรคแตกต่างกันไปในรายบุคคล  ผู้ที่ในครอบครัวมีประวัติกลุ่มโรคภูมิแพ้ ผื่นแพ้อักเสบ หอบหืด ลมพิษ ภูมิแพ้จมูกอักเสบ ภูมิแพ้อากาศ เป็นต้น จะมีโอกาสเป็นโรคผื่นแพ้อักเสบสูงกว่าปกติ

โรคผิวหนังกับแพทย์จีน สาเหตุ คือ ปัจจัยภายใน : พันธุกรรม การใช้ชีวิตประจำวัน อาหาร และ อารมณ์ ปัจจัยภายนอก : ปัจจัยภายนอกทั้ง 6 ( 六淫:ลิ่วอิ่น) ไวรัสโรคระบาด

การรักษาด้วยวิธีแพทย์แผนจีนสามารถรักษาได้ตั้งแต่ทารกรวมไปถึงในเด็กเล็ก ซึ่งในกาารรักษาจะผสมผสานตั้งแต่เริ่มต้นตรวจวินิจฉัย การใช้ยาจีนในเด็กทั้งแบบยารับประทานและยาใช้ภาพยนอก รวมไปถึงการฝังเข็มและการนวดทุยหนาในเด็ก

กลุ่มอาการและภาวะความผิดปกติของผิวหนังภายนอกและภาวะอื่นๆที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งสามารถรักษาด้วยวิธีแพทย์แผนจีนค่อนข้างได้ผลดี

โรคไวรัสโควิด-19 ถือเป็นโรคระบาดชนิดซือตู๋อี้ (湿毒疫) ที่มีสาเหตุจากพิษและความชื้นเป็นหลัก โรคนี้เข้าสู่เส้นลมปราณหรืออวัยวะปอดและม้ามโดยตรง ทฤษฎีพื้นฐานแพทย์จีนกล่าวไว้ว่า “ปอดควบคุมผิวหนัง”  “ม้ามและกระเพาะอาหารก็ถือเป็นแม่ของปอด

โรคผิวหนังที่มีความเกี่ยวข้องกับพันธุกรรมชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักมีค่าโปรตีน IgE สูงผิดปกติ  และคนในครอบครัวมักมีประวัติกลุ่มโรคภูมิแพ้ เช่น หอบหืด ลมพิษ ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักเป็นผื่นผิวหนังอักเสบตั้งแต่ทารกและไม่หายขาด โดยปกติแล้วในทางคลินิกจะแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ได้แก่ วัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่

โรคเรื้อรังทางผิวหนังที่พบได้บ่อย เกิดจากมีปัจจัยกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันทำให้เกิดการอักเสบและกระตุ้นการผลัดเซลล์ผิวให้เร็วเกินไป

หลังจากผื่นงูสวัดหายแล้ว ยังคงมีอาการปวดแสบปวดร้อน หรือปวดแบบเหมือนมีเข็มมาทิ่มแทง อาจเป็นตลอดเวลา หรือเป็นๆหายๆเป็นช่วงๆ หรือ อาการปวดเจ็บแบบแปร๊บๆตามแนวเส้นประสาทหลังจากที่ผื่นหรือตุ่มน้ำของงูสวัดหายไป

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้