บทความทั้งหมด

บ่อยในเพศชายวัยกลางคน ทั้งโรคต่อมลูกหมากอักเสบ โรคต่อมลูกหมากโต โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับต่อมลูกหมากทำให้เกิดความผิดปกติในการขับปัสสาวะ

ชี่ หรือ ลมปราณมีการเคลื่อนไหวขึ้นบนลงล่างตลอดเวลา ขับดันและควบคุมการทำงานของร่างกาย เมื่อการเคลื่อนไหวของชี่สิ้นสุด ชีวิตก็สิ้นสุดด้วย

บุคลากรของคลินิกฯ เข้ารับการฉีดวัคซีน เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการลดการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19​ และเพื่อความปลอดภัยสูงสุดของผู้รับบริการและสังคมโดยรวม

โรคที่เกี่ยวข้องที่อาจพบอาการชาร่วมด้วย เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน (เส้นประสาทถูกทำลายจากโรคเบาหวาน) เป็นต้น สำหรับอาการชาและอาการปวดต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในทางแพทย์แผนจีน จัดอยู่ในกลุ่ม “โรคปี้เจิ้ง” เกิดจากเลือดลมที่ไหลเวียนได้ไม่ดี

อาการของการชาตามนิ้วมือนั้น จะรู้เจ็บแปลบที่บริเวณ ปลายนิ้ว คล้ายถูกเข็มแทงหรือไฟฟ้าช็อต บางคนอาจรู้สึกปวดแสบปวดร้อนภายใน ซึ่งถ้าหากมีความรุนแรงมาก ก็อาจจะทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถหยิบจับสิ่งของได้ตามปกติ หากเกิดขึ้นแบบนานครั้ง ครั้งละไม่กี่วินาที ก็ไม่มีอะไรน่าเป็นห่วง เพราะอาจเกิดจากการขาดเลือดมาหล่อเลี้ยงแบบชั่วคราว แต่ถ้าเกิดขึ้นบ่อยๆ จนไม่สามารถใช้งานมือได้ตามปกติ ก็แสดงว่าอาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของมือและนิ้วมือแล้ว

ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดหลัง ร้าวลงขา โดยจะร้าวตั้งแต่สะโพกลงไป ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของหมอนรองกระดูกกว่ากดทับเส้นประสาทใด สามารถร้าวได้ตั้งแต่สะโพกไปจนถึงเท้า ในบางรายอาจมีอาการชา และอาการอ่อนแรงร่วมด้วย

"อาการชา" เป็นหนึ่งในอาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท นอกจากนี้ยังเกิดจากสาเหตุอื่นได้ เช่น การใช้งานหนักบริเวณแขนและข้อมือ การขาดวิตามินบี หรือ สาเหตุจากอาการป่วย เช่น โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคเส้นประสาทข้อมือถูกกดทับ โรคเบาหวาน โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคหลอดเลือด เป็นต้น ดังนั้น เมื่อมีอาการชา จึงไม่ควรนิ่งนอนใจ หรือปล่อยให้อาการนี้เป็นต่อเนื่องโดยไม่เริ่มต้นรักษา เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณที่ส่อถึงอันตรายต่อสุขภาพในระยะยาวได้

เฟิงเซาหย่าง(风瘙痒)ในทางแพทย์แผนจีน หมายถึง โรคผิวหนังที่ไม่ได้มีรอยโรคปฐมภูมิแต่มีอาการคันเป็นหลัก หลังการเกาจะเกิดรอยเกา รอยแผลตกสะเก็ด และรอยดำคล้ำ นานวันผิวหนังจะเริ่มหนาตัว ผิวจะมีลักษณะสากหยาบ

ภาวะที่ผิวหนังมีการอักเสบหลังจากการถูกแมลงกัดหรือต่อย หลังจากผิวหนังมีการสัมผัสกับพิษจากสารคัดหลั่งหรือขนบนตัวของแมลง มีอาการหลัก คือ เกิดตุ่มนูน บวมขึ้นที่ผิวหนัง โดยบริเวณที่ถูกกัดอาจปรากฎเป็นตุ่มน้ำ ตุ่มแข็ง หรือจุดแดง เรียงตัวแบบกระจาย โดยชนิดของพิษจากแมลงที่พบได้บ่อยได้แก่ ยุง ริ้น ไร แมลงก้นกระดก บุ้ง หมัด เหา เรือด มอด ผึ้ง เป็นต้น

การแพทย์แผนจีนจัด COVID-19 อยู่ในขอบเขตของ โรคระบาด (瘟疫 เวินอี้) ปัจจุบันมีข้อมูลงานวิจัยมากมายแสดงให้เห็นว่าจุดเด่นของ โควิด19 คือสามารถติดต่อได้จากคนสู่คน การระบาดมีความสอดคล้องกับภูมิภาค สิ่งเหล่านี้บ่งบอกว่าโควิด19 ในทางการแพทย์แผนจีนจัดอยู่ในขอบเขตของโรค “เวินอี้ (瘟疫)” ซึ่งเป็นหนึ่งในประเภทของโรค “เวินปิ้ง (温病)”  

(ฝังเข็ม) : ฝังเข็มรักษาโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต อัมพาตใบหน้า ไมเกรน ภูมิแพ้ นอนไม่หลับ หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ข้อเข่าเสื่อม โรคในผู้สูงอายุ เช่น ภาวะสมองเสื่อม พาร์กินสัน และกลุ่มอาการปวดต่าง ๆ

เนื่องจากช่วงระยะ 6 เดือน ที่ผ่านมามีโอกาสได้พบเคสที่มีผื่นบริเวณฝ่ามือบ่อยมากขึ้นอาจจะด้วยสถานการณ์ปัจจุบันนี้ทำให้เราต้องหมั่นล้างมือกันบ่อยมากขึ้น และมีความจำเป็นต้องใช้น้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ จึงอาจเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ใครหลายๆคน “อาการกำเริบ” หรือเกิดอาการ “ผื่นแพ้ผิวหนังอักเสบ” ขึ้นได้ จึงขอกล่าวถึงโรคหนึ่งที่พบได้บ่อยในทางคลินิก และจัดเป็นหนึ่งใน 5 อันดับโรคผิวหนังที่พบบ่อย (สถาบันโรคผิวหนัง,2561)  

เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดหน้าที่มีฤทธิ์อ่อนโยนกับผิว ใช้แล้วไม่เกิดการระคายเคือง และควรทดสอบการแพ้ก่อนใช้ผลิตภัณฑ์ใหม่ทุกครั้ง และสิ่งที่ควรระมัดระวัง การเลือกใช้เครื่องสำอาง เพื่อลดการอุดตันสะสมจนเกิดสิว

สำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคผิวหนัง ควรหลีกเลี่ยงการเกา หรือเลี่ยงสิ่งกระตุ้นที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง

เป็นโรคที่พบได้บ่อย เกิดจากร่างกายตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นไวมากเกินไป มีสาเหตุมาจาก อาหาร อากาศ สภาพแวดล้อม รวมถึงแนวโน้มจากพันธุกรรม โรคภูมิแพ้แสดงอาการได้หลายทาง คือ ทางตา จมูก ผิวหนัง หลอดลม และทางเดินอาหาร

ในทางการแพทย์แผนจีนนั้นอาการปวดศีรษะจัดเป็นโรคโถวท่ง “头痛” ซึ่งมีสาเหตุทั้งจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในเข้ามาเกี่ยวข้อง ปัจจัยภายนอกอาทิเช่น ลมเย็น ลมร้อน ลมชื้น

ทำความเข้าใจการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีนสำหรับสาขาอายุรกรรมภายนอก

โรคอายุรกรรมภายนอก ได้แก่โรคที่เกิดขึ้นหรืออยู่ภายนอกของร่างกายที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตา มีรูปร่างยืนยันได้และมีความจำเป็นต้องมีรักษาด้วยยาใช้ภายนอก เช่น ฝี หนอง โรคผิวหนัง โรคทางทวารหนัก โรคบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ชาย โรคทรวงอก โรคหลอดเลือดระดับตื้น ติ่งเนื้อ ก้อนเนื้อ โรคตา หู จมูก ปาก ลำคอ แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก โรคจากแมลงมีพิษกัดต่อยต่างๆ

เฟ่ยจื่อ หรือ ผดร้อน เป็นโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยในฤดูร้อน ที่มีอากาศร้อนจัดหรือร้อนอบอ้าว อาการเด่นคือมีผื่นหรือตุ่มน้ำเล็กๆขึ้นบนผิวหนัง ร่วมกับมีเหงื่อออกมาก มักพบบ่อยในเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ บุคคลที่มีรูปร่างเจ้าเนื้อ หรือบุคคลที่ใส่เสื้อผ้ารัดรูป ค่อนข้างคับแน่น หรือผ้าเนื้อหนา

รสเผ็ดร้อนหอม ขับลม บำรุงธาตุ แก้คลื่นไส้ อาเจียน ขับเสมหะ กระจายเลือดและลมให้ซ่าน

มีรสหวานและขมเล็กน้อย อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณตับและม้าม ทำให้ชี่ไหลเวียน แก้ซึมเศร้า ปรับสมดุลเลือด และระงับปวด

ผื่นแดง คัน เกิดได้ทุกส่วนของร่างกาย มักจะกำเริบได้ง่าย ระยะเวลาที่เป็นรวมถึงความรุนแรงของโรคแตกต่างกันไปในรายบุคคล  ผู้ที่ในครอบครัวมีประวัติกลุ่มโรคภูมิแพ้ ผื่นแพ้อักเสบ หอบหืด ลมพิษ ภูมิแพ้จมูกอักเสบ ภูมิแพ้อากาศ เป็นต้น จะมีโอกาสเป็นโรคผื่นแพ้อักเสบสูงกว่าปกติ

มีรสหวาน ขม อุ่นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณปอด ให้ความชุ่มชื้นแก่ปอด นำชี่ลงล่างเพื่อบรรเทาอาการไอ ฆ่าพยาธิและเห็บ เหา หมัด

มีรสเผ็ด ร้อน เข้าสู่เส้นลมปราณกระเพาะอาหารและลำไส้ใหญ่  อบอุ่นจงเจียวช่วยขับกระจายความเย็น ดึงชี่ลงสู่ส่วนล่างระงับปวด

พวกเราขอขอบคุณ คุณหมอหวางเอี้ยนจวง ที่ท่านได้ทุ่มเทกับการทำงาน ทั้งกายและใจ อุทิศความรู้และเวลามาทำหน้าที่ผ่านมาหลายปี ขอให้ท่านมีความสุขมากๆในวัยเกษียณ และขอให้มีสุขภาพแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลายทั้งปวง

หากร่างกายเรามีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ ก็จะก่อให้เกิดประโยชน์ในหลาย ๆ ด้าน เช่น ทำให้เลือดและชี่ไหลเวียนสะดวก ทำให้กระดูกและเส้นเอ็นแข็งแรง ทำให้ข้อต่อต่าง ๆ ในร่างกายไหลลื่น อวัยวะภายในร่างกายก็จะแข็งแรงขึ้น เราก็จะมีจิตใจที่แจ่มใส และมีอายุที่ยืนยาว แพทย์จีนจึงแนะนำวิธีการป้องกันร่างกายจากโรคต่างๆ ด้วยท่ากายบริหาร เพื่อสุขภาพแข็งแรงที่ดียิ่งขึ้น

แนะนำเมนูจากสมุนไพร 5 ชนิด ที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อผู้สูงวัย ช่วยบรรเทาอาการที่ผู้สูงอายุพบได้บ่อย เช่น ขับถ่ายลำบาก กระดูกไม่แข็งแรง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดสูง ระบบย่อยอาหารทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ เป็นต้น และสามารถลดการบริโภคยา ปรับสมดุลของร่างกาย ยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

อาการปวดเมื่อยในผู้สูงอายุมีได้หลายสาเหตุ อันแรกคือ โรคข้อเสื่อม ซึ่งเกิดตามข้อต่างๆ เกิดในคนที่มีอายุมาก ซึ่งจะเป็นเกือบทุกคน และอีกอย่างคือโรค กระดูกผุ มีเนื้อของกระดูกบางลง อันดับที่สาม คือโรคหมอนรองกระดูกทับประสาท และอีกประการหนึ่งก็ได้แก่ พวกโรครูมาติสซั่ม นอกจากนั้นก็อาจจะมาจากโรคไต หรือโรคกระเพาะอาหาร

"ในคัมภีร์หวงตี้เน่ยจิง" ได้กล่าวถึงเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีระของผู้สูงอายุไว้ว่า ผู้หญิงเมื่อถึงวัย 35 ปี หยางหมิง (阳明) เริ่มถดถอย ใบหน้าเริ่มคล้ำ ผมเริ่มร่วง และผู้ชาย อายุ 40 ปี ชี่ของไตเริ่มถดถอย ผมร่วง และเหงือกร่น

อาการหูมีเสียงคือการที่ผู้ป่วยได้ยินเสียงรบกวนอาจจะได้ยินเสียงสูง หรือ เสียงลม โดยเสียงที่ได้ยินไม่ใช่เสียงที่มาจากภายนอก

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้