บทความทั้งหมด

สรรพคุณ - ปรับการทำงานของซานเจียว กระตุ้นการไหลเวียนของอินชี่และหยางชี่  - บำรุงม้าม ปรับสมดุลกระเพาะอาหาร - เสริมสร้างความแข็งแรงของไตและเอว สร้างชี่ เสริมกำลัง

สมุนไพรจีนมีผลข้างเคียงหรือไม่ ? ทานยาจีนคู่กับยาแผนปัจจุบันได้หรือไม่ ? ยาจีนมีสเตียรอยด์หรือไม่ ? จะมั่นใจได้อย่างไรว่ายาจีนมีความปลอดภัยและมีคุณภาพ ?

ช่วยทำให้เส้นเอ็นมีความยืดหยุ่น สร้างความแข็งแรงให้กระดูกและร่างกาย เสริมชี่ อีกทั้งยังสามารถขับเคลื่อนชี่ กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ปรับสมดุลการทำงานของอวัยวะตันทั้ง 5 และอวัยวะกลวงทั้ง 6 ปรับสมดุลการทำงานของเส้นประสาทและของเหลวภายในร่างกาย เพิ่มการไหลเวียนของเลือด เป็นการช่วยนวดอวัยวะภายในช่องท้องอย่างอ่อนโยน ปรับการทำงานของระบบประสาท ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ รวมถึงระบบกล้ามเนื้อได้เป็นอย่างดี

รสเปรี้ยวและฝาด อุ่นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณตับและไต

มีรสหวาน สุขุม เข้าสู่เส้นลมปราณตับและไต บำรุงตับและไต เสริมสารจิงช่วยให้มองเห็นชัดขึ้น

รสหวาน สุขุม เข้าสู่เส้นลมปราณปอด ตับ และไต บำรุงเลือด เสริมอิน ทำให้ชุ่มชื้น ทำให้เลือดหยุดไหล

มีรสหวานและเผ็ด อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณตับ หัวใจ และม้าม บำรุงเลือด ช่วยการไหลเวียนของเลือด ทำให้ประจำเดือนสม่ำเสมอ ระงับปวด ทำให้ลำไส้ชุ่มชื้นและช่วยระบาย

มีรสเผ็ด อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณหัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจ และตับ

มีรสเผ็ด อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณหัวใจและตับ มีฤทธิ์กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ทะลวงเส้นลมปราณ ขจัดเลือดคั่ง และระงับปวด

มีรสเผ็ด ขม อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณม้ามและตับ มีฤทธิ์สลายลิ่มเลือด กระตุ้นการไหลเวียนของชี่ ทะลวงเส้นลมปราณ แก้ปวด

มีรสหวานและขมเล็กน้อย สุขุม เข้าสู่เส้นลมปราณม้ามและปอด บำรุงชี่และเสริมม้าม สร้างสารจิน และทำให้ปอดชุ่มชื้น

รสหวาน จืด มีฤทธิ์เย็น เข้าสู่เส้นลมปราณม้าม กระเพาะ ปอด ขับปัสสาวะ และความชื้น เสริมม้ามแก้ท้องเสีย ระงับปวด ขับหนอง ขับพิษ สลายก้อน

มีรสขม เผ็ด อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณม้าม กระเพาะอาหาร ปอด ลำไส้ใหญ่ กำจัดความชื้น เสมหะ นำพาชี่ลงสู่ส่วนล่างลดอาการแน่นท้อง

มีรสขม เผ็ด อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณปอดและม้าม ปรับการไหลเวียนของชี่ ช่วยให้การทำงานของม้ามดีขึ้น ขับความชื้นละลายเสมหะ แก้ท้องอืด จุกเสียด แน่นเฟ้อ ทานอาหารได้น้อย อาเจียน ท้องเสีย ไอมีเสมหะมาก

การแพทย์แผนจีน เน้นการส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงด้วยหลักการหย่างเซิงสุขภาพด้วยตนเอง ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญการป้องกันการเกิดโรค

มีรสเผ็ด เย็น เข้าสู่เส้นลมปราณปอด และตับ ระบายความร้อนในศีรษะและทำให้ตาสว่าง แก้เจ็บคอ กระทุ้งหัด ปรับการไหลเวียนชี่ของตับ

มีรสหวาน ขม เย็นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณปอดและตับ กระจายลมและลดความร้อน สงบตับช่วยให้มองเห็นชัดขึ้น และขับพิษ

โรคไวรัสโควิด-19 ถือเป็นโรคระบาดชนิดซือตู๋อี้ (湿毒疫) ที่มีสาเหตุจากพิษและความชื้นเป็นหลัก โรคนี้เข้าสู่เส้นลมปราณหรืออวัยวะปอดและม้ามโดยตรง ทฤษฎีพื้นฐานแพทย์จีนกล่าวไว้ว่า “ปอดควบคุมผิวหนัง”  “ม้ามและกระเพาะอาหารก็ถือเป็นแม่ของปอด

ปัจจุบันผลการวิจัยทางคลินิกและห้องปฏิบัติการแสดงให้เห็นว่า การฝังเข็มและการรมยาสามารถปรับสมดุลระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย มีสรรพคุณต้านการอักเสบ ต้านการติดเชื้อ ค่อนข้างได้ผลดีในการป้องกันและรักษาโรคติดต่อ

คู่มือการนวดทุยหนากดจุดแบบแพทย์แผนจีนสำหรับเพิ่มภูมิต้านทานป้องกัน COVID-19 ฉบับแปลไทย เพื่อให้คนไทยได้นวดทุยหนากดจุดแบบแพทย์แผนจีนสำหรับเพิ่มภูมิต้านทานป้องกันได้ด้วยตนเอง เหมาะสำหรับผู้ที่ยังไม่มีอาการ , ผู้ป่วยระยะแรก ตลอดจนผู้ป่วยCOVID-19 ระยะฟื้นฟู

ตำรับยาที่คณะกรรมการสาธารณสุขและสุขภาพแห่งชาติ สาธารณรัฐประชาชนจีน ประกาศไว้ในแนวทางการตรวจรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อรักษาผู้ป่วยที่ยืนยันว่าติดเชื้อแล้วโดยปรับตามความเหมาะสมในระยะการรักษาและสภาวะร่างกายของแต่ละบุคคลและสั่งจ่ายโดยแพทย์แผนจีนเท่านั้น

เพื่อการวินิจฉัยและการรักษาโรคระบาดปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่  หรือ โรคไวรัสโควิด-19 (Covid-19)  ทางหน่วยงานจัดตั้งผู้เชี่ยวชาญเพื่อวิเคราะห์ ตัดสิน และสรุปผลการช่วยเหลือรักษาพยาบาลที่ทำอยู่ในเบื้องต้น  และทำการแก้ไขแนวทางการรักษาจนได้เป็นแนวทางในการรักษาโรคระบาดปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (ทดลองใช้ฉบับที่ 7)  และประกาศใช้ให้ทุกท่านเป็นข้อมูลอ้างอิงในการดำเนินงาน 

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ คลินิกการประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนจีนหัวเฉียว (คลินิกหัวเฉียวแพทย์แผนจีน) ส่งกำลังใจและร่วมสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ ในช่วงภาวะระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ด้วยการสนับสนุนเครื่องดื่มสมุนไพรจีนหย่างเซิงบำรุงสุขภาพเสริมภูมิคุ้มกัน “จินจิน” - "Jin Jin" Chinese Herbal Drink เหมาะสำหรับผู้ที่มีภาวะชี่ของปอดพร่องหรือเป็นบุคลากรกลุ่มเสี่ยง ช่วยบำรุงปอดและกระเพาะอาหาร เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ขับความชื้นและพิษร้อน

บทบาทในการรักษาด้วยวิทยาการแพทย์แผนตะวันตก ร่วมกับศาสตร์การแพทย์แผนจีนมีปรากฏออกมามากขึ้นในสถานการณ์ปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อที่มีอาการรุนแรงและเสี่ยงต่อชีวิตจำเป็นต้องอยู่ภายใต้ความดูแลของแพทย์แผนตะวันตกเป็นหลัก  ส่วนบทบาทของแพทย์แผนจีนนั้นจะมุ่งเน้นไปที่การฟื้นฟูร่างกายของผู้ติดเชื้อหรือแนวทางป้องกันและเสริมสร้างภูมิต้านทานเป็นสำคัญ

มีรสหวาน ชุ่มคอ มีสรรพคุณบำรุงหัวใจให้ชุ่มชื้น แก้เสมหะเป็นพิษ (แก้ไอ) ทำให้ชุ่มคอ ใช้ปรุงแต่งรสยาให้รับประทานง่าย

มีรสหวาน สุขุม เข้าสู่เส้นลมปราณม้าม กระเพาะอาหาร และตับ แก้ม้ามพร่อง ช่วยให้เจริญอาหาร บำรุงกระเพาะอาหาร แก้ปวดคัดนม ช่วยให้ชี่ไหลเวียนได้คล่อง ช่วยย่อยอาหาร แก้อุจจาระเหลวเป็นประจำ ช่วยหย่านม แก้อาหารไม่ย่อย อาหารตกค้าง กรดไหลย้อน แน่นท้อง

มีรสขม เย็นมาก เข้าสู่เส้นลมปราณปอด กระเพาะอาหาร หัวใจ และตับ ขับความร้อน ขจัดพิษ ช่วยให้เลือดเย็นลง บรรเทาอาการเจ็บคอ

มีรสขม เย็นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณปอด หัวใจ และลำไส้เล็ก ขจัดความร้อนและสารพิษ ลดบวม ลดการอุดกั้น และกระจายลมร้อน

มีรสหวาน เย็น เข้าสู่เส้นลมปราณปอด หัวใจ และกระเพาะอาหาร ขจัดความร้อนและขับพิษ กระจายลมร้อน

หัวเฉียวแพทย์แผนจีน ขอส่งความห่วงใยด้วยวิธีการหย่างเซิงที่บ้านด้วยตนเอง เสริมสร้างสุขภาพในช่วงโรค COVID-19 แนะนำสูตรโดยสำนักงานคณะกรรมการวางแผนสุขภาพและครอบครัวนครเซินเจิ้น และปรับให้เข้ากับภูมิอากาศประเทศไทย

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้