กระดูกและการนวดทุยหนา

แนะนำเมนูจากสมุนไพร 5 ชนิด ที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อผู้สูงวัย ช่วยบรรเทาอาการที่ผู้สูงอายุพบได้บ่อย เช่น ขับถ่ายลำบาก กระดูกไม่แข็งแรง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดสูง ระบบย่อยอาหารทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ เป็นต้น และสามารถลดการบริโภคยา ปรับสมดุลของร่างกาย ยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

อาการปวดเมื่อยในผู้สูงอายุมีได้หลายสาเหตุ อันแรกคือ โรคข้อเสื่อม ซึ่งเกิดตามข้อต่างๆ เกิดในคนที่มีอายุมาก ซึ่งจะเป็นเกือบทุกคน และอีกอย่างคือโรค กระดูกผุ มีเนื้อของกระดูกบางลง อันดับที่สาม คือโรคหมอนรองกระดูกทับประสาท และอีกประการหนึ่งก็ได้แก่ พวกโรครูมาติสซั่ม นอกจากนั้นก็อาจจะมาจากโรคไต หรือโรคกระเพาะอาหาร

"ในคัมภีร์หวงตี้เน่ยจิง" ได้กล่าวถึงเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีระของผู้สูงอายุไว้ว่า ผู้หญิงเมื่อถึงวัย 35 ปี หยางหมิง (阳明) เริ่มถดถอย ใบหน้าเริ่มคล้ำ ผมเริ่มร่วง และผู้ชาย อายุ 40 ปี ชี่ของไตเริ่มถดถอย ผมร่วง และเหงือกร่น

นวดทุยหนา 3 ช่วงวัย ทุยหนาสำหรับเด็ก : เน้นการรักษาจากภายนอกเข้าสู่ภายใน“โรคในเด็กมักเกิดขึ้นเร็ว แต่หายเร็ว” ทุยหนาสำหรับผู้ใหญ่ : กระตุ้นการไหลเวียน คลายกล้ามเนื้อ เสริมความแข็งแรงกระดูกและเส้นเอ็น ทุยหนาสำหรับดูแลสุขภาพ หรือ ผู้สูงอายุ : ปรับการทำงานของอวัยวะภายใน เพื่อเพิ่มระบบภูมิคุ้มกัน

การรักษาด้วยวิธีแพทย์แผนจีนสามารถรักษาได้ตั้งแต่ทารกรวมไปถึงในเด็กเล็ก ซึ่งในกาารรักษาจะผสมผสานตั้งแต่เริ่มต้นตรวจวินิจฉัย การใช้ยาจีนในเด็กทั้งแบบยารับประทานและยาใช้ภาพยนอก รวมไปถึงการฝังเข็มและการนวดทุยหนาในเด็ก

ช่วยทำให้เส้นเอ็นมีความยืดหยุ่น สร้างความแข็งแรงให้กระดูกและร่างกาย เสริมชี่ อีกทั้งยังสามารถขับเคลื่อนชี่ กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ปรับสมดุลการทำงานของอวัยวะตันทั้ง 5 และอวัยวะกลวงทั้ง 6 ปรับสมดุลการทำงานของเส้นประสาทและของเหลวภายในร่างกาย เพิ่มการไหลเวียนของเลือด เป็นการช่วยนวดอวัยวะภายในช่องท้องอย่างอ่อนโยน ปรับการทำงานของระบบประสาท ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ รวมถึงระบบกล้ามเนื้อได้เป็นอย่างดี

คู่มือการนวดทุยหนากดจุดแบบแพทย์แผนจีนสำหรับเพิ่มภูมิต้านทานป้องกัน COVID-19 ฉบับแปลไทย เพื่อให้คนไทยได้นวดทุยหนากดจุดแบบแพทย์แผนจีนสำหรับเพิ่มภูมิต้านทานป้องกันได้ด้วยตนเอง เหมาะสำหรับผู้ที่ยังไม่มีอาการ , ผู้ป่วยระยะแรก ตลอดจนผู้ป่วยCOVID-19 ระยะฟื้นฟู

เทคนิควิธีการหย่างเซิงส่งเสริมสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนจีน มีวิธีการบำรุงเกี่ยวกับจุดต่างๆ โดยใช้วิธีนวดกดจุดบำรุงร่างกาย  ซึ่งเป็นเทคนิควิธีง่ายๆ ช่วยส่งเสริมร่างกายให้แข็งแรงได้ 

แนวทางการรักษาภาวะอักเสบรอบข้อไหล่ กล้ามเนื้อเอ็นบริเวณต้นคอไหล่อักเสบ เอ็นข้อศอกอักเสบ กลุ่มอาการของข้อพับมือด้วยวิธีการรักษาของแพทย์แผนจีน

มีประวัติได้รับบาดเจ็บที่บริเวณเอว หรือบริเวณเอวเคยแบกรับน้ำหนักไม่เท่ากัน หรือเกิดจากการได้รับลมเย็นแล้วกระตุ้นให้เกิด โดยมากจะพบว่าเพศชายจะเป็นได้มากกว่าเพศหญิง และพบมากในวัยรุ่น โดยจะมีอาการปวดเอวร่วมกับปวดร้าวลงขา  

เมื่อมีอายุมากขึ้น หมอนรองกระดูกสันหลังเกิดการเสื่อมสภาพ Nucleus pulposus มีส่วนประกอบของน้ำค่อยๆ ลดลง  สูญเสียความยืดหยุ่น  ระยะห่างระหว่างกระดูกสันหลังแคบลง  ligament รอบๆ กระดูกสันหลังเกิดการหย่อน

อาการที่เกิดขึ้นกับคุณแม่หลายๆท่าน ซึ่งเกิดมาจากพฤติกรรมชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะ คุณแม่ที่ต้องทำทั้งงานประจำ งานบ้าน รวมถึงเลี้ยงลูกด้วยตนเอง

พฤติกรรมชีวิตที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจำติดต่อกันเป็นเวลานาน แม่บ้าน หรือนักกีฬา พบมากในผู้ป่วยวัยทำงานที่ช่วงอายุ 30-60 ปี

สาเหตุของอาการปวด เกิดได้ทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกร่างกาย ในทางการแพทย์แผนจีน ได้จัดหมวดหมู่กลุ่มอาการปวด ไม่ว่าจะเป็นอาการปวดคอ ปวดเอว ปวดข้อ และปวดกล้ามเนื้อ อยู่ในกลุ่มอาการ ปีเจิ้ง

การนวดทุยหนาเด็ก มีประวัติการรักษามาอย่างยาวนาน พร้อมๆกับการนวดเพื่อรักษาอาการปวดโดยทั่วไป วิธีการนวดทุยหนาในเด็กจะอาศัยหลักการของแพทย์แผนจีนโบราณทั้งทฤษฎีการตรวจแยกแยะวิเคราะห์โรค

ผู้ป่วยมีอาการปวดหัวเข่าด้านขวา เดินนานมีอาการปวดหัวเข่ามาก ขึ้นลงบันไดลำบาก ไม่สามารถนั่งยองได้

ถ้าเราก้มหน้า  60 องศา กระดูกคอเราจะรับน้ำหนักถึง 27 กิโลกรัม !!! เทียบเท่ากับเอาเด็ก 8 ขวบขึ้นมานั่งบนหัว ยิ่งก้มคอใช้สมาร์ทโฟนนานๆมากเท่าไรหมอนรองกระดูกต้นคอยิ่งเสื่อมมากขึ้นเท่านั้น             

ตัวอย่างการรักษาก้อนถุงน้ำบนข้อมือด้วยวิธีแพทย์แผนจีน

กรณีศึกษาการรักษากลุ่มอาการด้านกระดูกและกล้ามเนื้อ อาการปวดต้นคอด้านซ้าย มีวิธีการประเมินการรักษาและขั้นตอนการรักษาโดยวิธีการรักษาแบบแพทย์แผนจีนอย่าง

การนอนหงายขาตั้งฉากกับลำตัว  แล้วเอาขาพาดอยู่บนเก้าอี้  นอนท่านี้เป็นเวลา 10-15 นาที โดยไม่เคลื่อนไหวลำตัว สามารถบรรเทาอาการปวดหลังได้จริงหรือ ?

อุบัติเหตุขณะออกกำลังกาย หกล้ม ได้รับแรงกระแทก บิดตัวผิดท่ามีอาการเจ็บปวด  บวมหรือฟกช้ำเฉพาะที่  อาจมีการจำกัดการเคลื่อนไหว  หรือเคลื่อนไหวร่างกายส่วนนั้นไม่ได้

กลุ่มอาการปวดจากพังผืดกล้ามเนื้อ เป็นกลุ่มอาการที่มีลักษณะปวดอันเนื่องจากมี “จุดกดเจ็บเฉพาะ” (Trigger point ; TrP) ในกล้ามเนื้อ

หากปล่อยไว้นาน ไม่ได้รับการรักษา อาจะทำให้เกิดภาวะข้อพิการเกิดภาวะทุพพลภาพและใช้งานไม่ได้

อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อหลังและเอวพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ อาการเหล่านี้เกิดขึ้นจากอะไร  ทั้งๆที่พวกท่านก็ไม่ได้ทำงานหนักแต่ทำไมจึงปวดบ่อยๆ

การเคลื่อนไหวนิ้วเริ่มมีการสะดุด โดยเฉพาะเวลาที่อากาศเย็น หรือเวลาตื่นนอนตอนเช้า นิ้วจะอยู่ในท่าเกร็งงอ หรือเหยียดตรงแต่กำมือไม่ลง จะต้องใช้มือช่วยง้างออก หรือหากล็อกอยู่ในท่าเหยียดตรงก็จะกำมือไม่ได้ มีอาการแสดงที่หลากหลาย ตั้งแต่เจ็บฐานนิ้ว นิ้วฝืด นิ้วสะดุด นิ้วกระเด้ง นิ้วล็อก นิ้วโก่ง นิ้วแข็ง นิ้วบวม นิ้วชา กำนิ้วไม่ลง นิ้วเกยกัน

พฤติกรรมเสี่ยงที่คนไข้หลายๆคนมักจะทำเป็นประจำโดยบางทีก็เป็นความเคยชิน พอทำซ้ำๆบ่อยๆเข้า ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้หมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท

คำแนะนำเบื้องต้นเพื่อเตรียมตัวก่อนและหลังการนวดทุยหนา เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ผู้ป่วยมีการเตรียมความพร้อมก่อนการรับการรักษา

อาการชา เหมือนมีเข็มทิ่ม แสบร้อนที่นิ้วมือทั้งห้าโดยเฉพาะนิ้วชี้และนิ้วกลาง ไม่สามารถกำมือได้  ปวดทั้งแขนจนถึงไหล่ หรือมือบวม อาการมักจะเป็นมากตอนกลางคืน  ความรุนแรงแตกต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละราย

เมื่อเรานอนไม่หลับ ย่อมส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตในแต่ละวันของเราเกือบจะทั้งหมด อีกทั้งยังทำให้การทำงานของอวัยวะภายในร่างกาย โดยเฉพาะ สมองของเราหย่อนสมรรถภาพลง

สาเหตุของโรคมักเกิดจากการใช้งานเกินกำลัง ทำให้เกิดบาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อของเอ็นในบริเวณข้อศอก อาชีพที่มักพบได้บ่อย คือ ทันตแพทย์ ช่างทำผม คนทำครัว พนักงานยกของ และกลุ่มนักกีฬาที่ใช้แรงแขนมาก ๆ เช่น เทนนิส แบดมินตัน

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้