กระดูกและการนวดทุยหนา

ทางแพทย์แผนจีนเชื่อว่าในวัยเด็กนั้น สติปัญญา สภาวะทางจิตใจและระบบประสาทยังไม่สามารถพัฒนาได้อย่างเต็มที่ ปัจจัยสิ่งเร้าจากภายนอกมากระทบอารามณ์จิตใจได้ง่าย

การฝึกรำไทเก๊กเป็นวิธีหนึ่งในการดูแลสุขภาพของคนจีนที่มีมาแต่โบราณ เป็นการออกกำลังเคลื่อนไหวด้วยความสงบ ช้าและสมดุล

เป็นวิธีการดูแลฟื้นฟูสุขภาพเฉพาะทางแขนงหนึ่ง เดิมเป็นศาสตร์ชี่กงที่มีการแบ่งและเรียกขานชื่อมากมาย เป็นวิธีการรักษาดูแลสุขภาพแบบจีนโบราณ ใช้ท่วงท่าการเคลื่อนไหวร่างกาย

ข้อไหล่อักเสบ เป็นภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหัวไหล่และเนื้อเยื่อโดยรอบ มักพบในผู้สูงอายุประมาณ 50 ปีขึ้นไป

สาเหตุพื้นฐานของการเกิดภาวะเบื่ออาหารในเด็กมักเกี่ยวข้องกับการทานอาหารที่ไม่เหมาะสมหรือขาดคุณค่าทางโภชนาการในเด็ก เมื่อระยะโรคดำเนินเป็นเวลานาน

อธิบายว่าคนเรามี ซานเปา (三宝)  ได้แก่ จิง (精-สารสำคัญ) ที่ถูกกักเก็บภายในไต ชี่(气) หรือพลังลมปราณที่ไหลเวียนอยู่ทั่วร่างกาย และจิตวิญญาณ (神) ที่ทำให้คนเรามีชีวิตได้ การออกกำลังจึงเกี่ยวข้องกับการบำรุงทั้งสามสิ่งนี้

โดยทางศาสตร์การแพทย์แผนจีน การนอนไม่หลับนั้นจะส่งผลกระทบต่อกระเพาะอาหารและม้าม ทำให้เกิดโรคทางระบบทางเดินอาหารได้ง่าย หากนอนไม่หลับเป็นระยะเวลานานจะส่งผลให้เกิดความเสียหายเรื้อรังต่ออวัยวะอื่นๆ

การได้นอนหลับวันละหลายๆชั่วโมง จะทำให้ร่างกายได้พักผ่อนนานขึ้น แต่ในทางการแพทย์แล้ว การนอนหลับมากเกินไป กลับส่งผลเสียต่อร่างกายมากกว่าผลดี เช่น น้ำหนักขึ้นง่าย หงุดหงิดง่าย วิตกกังวล ความคิดช้า มึนงง รอบเดือนผิดปกติ และอาจมีอาการซึมเศร้า และเสี่ยงต่อการหยุดหายใจแบบเฉียบพลัน ดังนั้นทางการแพทย์จึงจัด โรคนอนหลับมากเกินไปเป็นโรคผิดปกติทางการนอนอย่างหนึ่ง

การประเมินความปวด โดยผู้ป่วยให้คะแนนความปวดด้วยตนเอง ด้วยมาตรวัดความปวดแบบตัวเลข (numerical rating scale: NRS)

นวดกดจุดกระตุ้นบำรุงสารจิงของไตในเด็กเล็ก เสริมสร้างสมองและปัญญา ช่วยเสริมสร้างน้ำและไฟในไตแข็งแรง กระตุ้นชี่ต้นทุนแต่กำเนิดเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้ไขกระดูก เอวและเข่าแข็งแรง

ภัยเงียบ ที่มีการดำเนินของโรคใช้เวลานับสิบๆปี อาจไม่มีอาการเจ็บป่วยหรืออาการอื่นใด จนวันหนึ่งกระดูกเกิดร้าวหรือหักขึ้นมาเพียงแค่ได้รับความกระเทือนเพียงเล็กน้อยเช่น การไอ การจาม หรือแค่ยกของเบาๆ

อาการที่ทำให้หลายๆคนสะดุ้งตื่นกลางดึก และเกิดความเจ็บปวดอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนอาการจะทุเลาลง โดยมักจะเกิดกับกล้ามเนื้อด้านหลังต้นขา (Hamstrings) หรือ ด้านหลังของน่อง (Calf)

อาการอักเสบที่เกิดขึ้นกับพังผืดใต้ฝ่าเท้า โดยผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดบริเวณส้นเท้าด้านในหรือตามแนวแถบของพังผืด ในตอนเช้าอาการปวดจะมีลักษณะแปล๊บๆ เหมือนมีอะไรมาแทงบริเวณส้นเท้า หรือปวดแบบโดนของร้อน ทำให้เวลาที่วางส้นเท้าลงกับพื้นอาจมีอาการสะดุ้ง อาการปวดจะค่อยๆ เบาลงเมื่อเดินไปได้ 2-3 ก้าว และสามารถกลับมาปวดมากเหมือนเดิมได้ใหม่ หากยืนเป็นระยะเวลานานหรือลุกขึ้นจากการนั่งพักนานๆ

หรือบาดเจ็บบริเวณข้อเข่า เป็นสิ่งที่พบได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจจะเกิดจากอุบัติเหตุที่ทำให้เกิดการปะทะอย่างรุนแรงบริเวณข้อเข่า เช่น การหกล้ม การตกจากที่สูง หรือการประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ เป็นต้น หรือ เกิดจากการออกกำลังกาย บาดเจ็บจากกีฬา

สาเหตุหลักมาจากแรงกระทำภายนอก หรือเกิดการบาดเจ็บล้าเป็นเวลานาน ซึ่งมีการบาดเจ็บเกิดขึ้นที่เส้นเอ็นบริเวณข้อมือ กล้ามเนื้อ ปลอกเอ็นหุ้ม ได้รับแรงมากเกินไปทำให้เกิดการอักเสบ ในทางคลินิกจะมีอาการ บวมบริเวณข้อมือ ปวดข้อมือ การขยับข้อมือติดขัด

เป็นโรคหรือกลุ่มอาการชนิดหนึ่งที่มีอาการแสดงสำคัญ ได้แก่ อาการปวด บวม ฟกช้ำและการเคลื่อนไหวข้อเท้าติดขัด โรคนี้เป็นหนึ่งในอาการบาดเจ็บที่พบได้บ่อยในทางคลินิก สามารถพบได้ทุกเพศทุกวัย ส่วนใหญ่มักพบในวัยกลางคน และอาการบาดเจ็บจากกีฬา

สาเหตุที่ต้องคลายกล้ามเนื้อก่อนขั้นตอนอื่นเนื่องจากการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อโดยทั่วไป กล้ามเนื้อบริเวณนั้นจะมีความตึง แข็ง หดเกร็ง บางครั้งจับตัวเป็นก้อน การที่นวดเบาๆรอบบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บจะเป็นการเตรียมความพร้อมของกล้ามเนื้อก่อนที่จะรับหัตถการที่มีน้ำหนักที่มากขึ้นในขั้นตอนต่อไปเพื่อป้องกันการบาดเจ็บซ้ำ

อาการปวดหลังที่พบได้บ่อยที่สุด กล้ามเนื้อบริเวณหลังส่วนล่างมักต้องรองรับน้ำหนักของร่างกายส่วนบนและใช้เพื่อควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย ที่ต้องบิดงอและก้มโค้งบ่อย ๆ อาจได้รับบาดเจ็บอย่างกะทันหัน หรือการใช้งานกล้ามเนื้อบริเวณนี้มากเกินไปมาอย่างต่อเนื่อง

กอล์ฟเป็นกีฬาที่ซับซ้อนและอาศัยทักษะทางกายภาพหลายด้านโดยเฉพาะอย่างยิ่งการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหวทั่วร่างกาย จากการศึกษาและเก็บข้อมูลพบว่า  การตีกอล์ฟเป็นกีฬาอย่างหนึ่งที่อาจทำให้บาดเจ็บได้ ทั้งหัวไหล่ หลังส่วนล่าง ข้อศอก ข้อมือ หัวเข่า แต่ที่ต้องระวัง คือ การบาดเจ็บของข้อไหล่

อาการปวดศีรษะคล้ายกับมีอะไรมาบีบรัดบริเวณศีรษะ ตื้อๆ หนักๆ ปวดพอรำคาญ อาจเกิดเวลาใดก็ได้ ระยะเวลาที่มีอาการไม่แน่นอน ส่วนใหญ่มักมีอาการหลายชั่วโมง หรือตลอดทั้งวัน ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค อาการปวดจะรุนแรงขึ้นเมื่อมีความเครียด พักผ่อนไม่เพียงพอ หรือ ใช้สายตาเป็นระยะเวลานาน

พฤติกรรมในชีวิตประจำวันอาจดูเป็นความเคยชิน ซึ่งพฤติกรรมบางอย่างควรหลีกเลี่ยงถ้าอยากมีสุขภาพที่ดี ในราชวงศ์ชิงมีผู้เชี่ยวชาญด้านการหย่างเซิงชื่อ อาจารย์ Xu Wenbi เขียนบทความเกี่ยวกับ “ข้อควรระวัง 10 ข้อ” โดยเชื่อว่าการรักษาสุขภาพควรหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่เคยชิน 10 อย่างนี้

มีนักกีฬาจำนวนไม่น้อยที่หันมาพึ่งวิธีการรักษาทางด้านแพทย์แผนจีนไม่ว่าจะเป็น การฝังเข็ม ครอบแก้ว นวดทุยหนา เช่น ไมเคิลเฟลปป์ นักกีฬาว่ายน้ำโอลิมปิค เลือกใช้วิธีการครอบแก้วก่อนการแข่งขันกีฬา

วิธีการดูลิ้นที่คนทั่วไปสามารถดูได้ด้วยตนเอง รวมถึงการนวดกดจุดและโภชนบำบัดตามสีของลิ้นและฝ้า เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพ

การดึงหลัง เป็นหนึ่งในวิธีการรักษาโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทแบบการแพทย์แผนจีนดั้งเดิม วิธีนี้เริ่มมีการใช้เพื่อการรักษา ครั้งแรกในสมัยราชวง์ชิง จากการบันทึกของตำราแพทย์แผนจีนโบราณ “อีจงจินเจี้ยน” ได้กล่าวไว้ว่า วิธีการดึงหลังแบบพานซั่วเตี้ยนจวนฝ่า  “攀索叠砖法” 

เทคนิคหย่างเซิงง่ายๆสไตล์หมอจีนที่จะเสริมสร้างสุขภาพได้ด้วยตนเอง ทำแบบนี้ได้บ่อยๆ ทำเป็นประจำทุกวัน แข็งแรงแน่นอน

โรคที่เกิดขึ้นกับเด็กๆ โดยส่วนใหญ่มักจะเกิดในช่วงฤดูฝน หรือ ฤดูร้อน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่อากาศเปลี่ยนแปลงรวมทั้งยังมีทั้งความร้อนและความชื้นในอากาศในเวลาเดียวกัน   สิ่งที่ตามมากับความชื้นคือ ปัญหาด้านการปรับอุณหภูมิในร่างกายของเด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็ก ที่มีอาการผิดปกติต่างๆในร่างกาย ก็มักมีสาเหตุมาจากความชื้น

โรคที่เกี่ยวข้องที่อาจพบอาการชาร่วมด้วย เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน (เส้นประสาทถูกทำลายจากโรคเบาหวาน) เป็นต้น สำหรับอาการชาและอาการปวดต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในทางแพทย์แผนจีน จัดอยู่ในกลุ่ม “โรคปี้เจิ้ง” เกิดจากเลือดลมที่ไหลเวียนได้ไม่ดี

อาการของการชาตามนิ้วมือนั้น จะรู้เจ็บแปลบที่บริเวณ ปลายนิ้ว คล้ายถูกเข็มแทงหรือไฟฟ้าช็อต บางคนอาจรู้สึกปวดแสบปวดร้อนภายใน ซึ่งถ้าหากมีความรุนแรงมาก ก็อาจจะทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถหยิบจับสิ่งของได้ตามปกติ หากเกิดขึ้นแบบนานครั้ง ครั้งละไม่กี่วินาที ก็ไม่มีอะไรน่าเป็นห่วง เพราะอาจเกิดจากการขาดเลือดมาหล่อเลี้ยงแบบชั่วคราว แต่ถ้าเกิดขึ้นบ่อยๆ จนไม่สามารถใช้งานมือได้ตามปกติ ก็แสดงว่าอาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของมือและนิ้วมือแล้ว

ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดหลัง ร้าวลงขา โดยจะร้าวตั้งแต่สะโพกลงไป ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของหมอนรองกระดูกกว่ากดทับเส้นประสาทใด สามารถร้าวได้ตั้งแต่สะโพกไปจนถึงเท้า ในบางรายอาจมีอาการชา และอาการอ่อนแรงร่วมด้วย

"อาการชา" เป็นหนึ่งในอาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท นอกจากนี้ยังเกิดจากสาเหตุอื่นได้ เช่น การใช้งานหนักบริเวณแขนและข้อมือ การขาดวิตามินบี หรือ สาเหตุจากอาการป่วย เช่น โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคเส้นประสาทข้อมือถูกกดทับ โรคเบาหวาน โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคหลอดเลือด เป็นต้น ดังนั้น เมื่อมีอาการชา จึงไม่ควรนิ่งนอนใจ หรือปล่อยให้อาการนี้เป็นต่อเนื่องโดยไม่เริ่มต้นรักษา เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณที่ส่อถึงอันตรายต่อสุขภาพในระยะยาวได้

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้