กระดูกและการนวดทุยหนา

อาการที่พบมากที่สุดในผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อ แผนกผู้ป่วยนอกบางแห่งอาจมีถึงร้อยละ 40 ของผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อ อาการปวดหลังอาจเป็นเล็กน้อย แล้วหายเองได้ แต่มีบางรายที่ต้องผ่าตัด

ตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนอธิบายว่ารอยโรคเกิดขึ้นที่เส้นทางเดินลมปราณและเส้นเอ็น มักเกิดในช่วงอายุห้าสิบปี เจิ้งชี่ไม่พอ จิงเว่ยพร่อง ไหล่มีการกระทบลมเย็น หรือมักนอนตะแคง เมื่อทางไหลเวียนของเส้นลมปราณถูกกดทับเป็นระยะเวลานาน ทำให้เลือดลมติดขัดก่อให้เกิดอาการปวดหรือชา

การบาดเจ็บของเส้นเอ็นกล้ามเนื้อ สาเหตุจากเส้นเอ็นบริเวณข้อมือและนิ้วมือใช้งานหักโหมจนทำให้เกิดอาการบาดเจ็บสะสมเรื้อรัง

ศาสตร์การนวดของแผนจีนที่มีมาอย่างยาวนาน โดยแพทย์แผนจีนจะใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายในการกด การคลึง การถู การบีบ การดีด หรือการคลึงตามจุดต่างๆ ของเส้นลมปราณบนร่างกาย เพื่อให้เลือดลมไหลเวียนไปตามอวัยวะต่างๆ ได้ดีขึ้น

เคล็ดลับวิธีนอนหลับเพื่อสุขภาพ จะนอนให้หลับสนิท ต้องทำให้หัวใจหลับก่อนจึงหลับตา คนเราถ้าใจไม่สงบ ถึงนอนก็จะหลับไม่ลง ถ้าพักผ่อนหัวใจได้ ตาก็จะหลับได้เอง

สาเหตุมาจากการออกแรงในการกำมือหรืองอนิ้วบ่อยๆ จนทำให้เกิดการหนาตัวของปลอกหุ้มเส้นเอ็นจนกดรัดการเคลื่อนไหวของเส้นเอ็น โรคนี้พบบ่อยในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายและพบมากในช่วงอายุ 30-60 ปี มักเกิดกับมือข้างถนัดที่ใช้งาน

ท่าทางในการนั่ง ยืน นอน และเดินที่ถูกต้อง สามารถป้องกันและคลายความปวดเมื่อยตามร่างกายได้เป็นอย่างดี

กลุ่มอาการของโรคที่เกิดขึ้นบริเวณไขสันหลัง รากประสาท และระบบไหลเวียนเลือดที่ระดับคอ จะทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดบริเวณศีรษะ คอ หัวไหล่ แขน หรือหน้าอก

การครอบแก้ว สามารถรักษาได้หลายโรคหลายอาการ เช่น ไอ ไข้หวัด หอบหืด ลมพิษ โดยเฉพาะอาการปวดบริเวณต่าง ๆ ตามร่างกาย

ตามทฤษฎีแพทย์แผนจีนอธิบายว่า อาการปวดเข่าเกิดเนื่องจากมีการอุดกั้นของพลังลมปราณ การฝังเข็มจะทำให้ลมปราณหมุนเวียนดีขึ้น ช่วยแก้ไขการอุดกั้นของลมปราณ นอกจากนี้ การฝังเข็มยังช่วยปรับสมดุลของร่างกาย

ในศาสตร์การแพทย์แผนจีน หลักคิดในการรักษาคือ "การระบาย" สาเหตุของอาการปวดเกิดจาก "การติดขัดของการไหลเวียนของชี่หรือลมปราณ" หรือจากการที่ชี่และเลือดไปหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอ 

อาการสะสมจากการทำพฤติกรรมซ้ำๆ ทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยเรื้อรังแบบ “ออฟฟิศซินโดรม” หรือ “ภาวะหลังค่อม” ซึ่งไม่เป็นผลดีนะครับ ปล่อยเอาไว้นานๆไม่รักษาและไม่ปรับพฤติกรรมก็อาจจะเป็นผลเสียต่อสุขภาพ

ทำไมหมอจีนจะต้องแมะที่ข้อมือ คุณหมอฟังชีพจรอะไร? ชีพจรสองข้างเหมือนกันหรือไม่ แมะแล้วบอกได้เลยหรือไม่ว่าเป็นโรคอะไร? น่าเชื่อถือหรือ?

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้