25 ก.ค. 2566
โรคหัวใจและหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของโลก แต่โรคนี้สามารถป้องกันได้โดยเริ่มต้นจากความใส่ใจในอาหาร
3 พ.ค. 2566
ประเทศไทยกับอากาศร้อนถือเป็นของคู่กัน ปฏิเสธไม่ได้ว่าเมื่อเอ่ยถึงเมืองไทย ใครๆก็นึกถึงภาพไอความร้อน เหงื่อที่ไหลออกมาตามตัว
11 เม.ย 2566
เวียนศีรษะ เป็นอาการที่พบได้บ่อยในทุกเพศและทุกวัย มักมีอาการมึนงงศีรษะ ตาลาย รู้สึกเหมือนวัตถุรอบตัวหมุนได้
7 ก.ย. 2565
เหมาะสำหรับ ผู้ที่มีอาการในกลุ่มโรคเบาหวาน เริ่มมีระดับน้ำตาลสูง หรือ มีภาวะร้อน (คนกลุ่มร้อนชื้น กลุ่มเลือดคั่ง)
7 ก.ย. 2565
เหมาะสำหรับ ผู้ที่มีอาการปวดเมื่อยเอว ผู้สูงวัย ผู้ที่มีอาการผมร่วงหรือผมขาวก่อนวัย (คนกลุ่มอินพร่อง)
7 ก.ย. 2565
เหมาะสำหรับ ผู้ที่มีอาการอ่อนเพลีย อาการเวียนหัวจากความดันต่ำ มีปัญหาประจำเดือนมาน้อย (คนกลุ่มชี่พร่องหรือมีภาวะเลือดพร่อง)
7 ก.ย. 2565
โจ๊กลูกเดือยพุทราจีนเป็นอาหารที่ครบครันทั้งด้านการบำรุงต้านมะเร็งและขจัดเหตุอันก่อให้เกิดมะเร็ง เมนูอาหารสุขภาพที่แพทย์แผนจีนแนะนำให้ทานได้เป็นประจำ
7 ก.ย. 2565
สรรพคุณ บำรุงปอด เพิ่มความชุ่มชื้น แก้ไอ เหมาะสำหรับ ผู้ที่มีอาการไอแห้ง ร้อนในบ่อย ปากคอแห้ง นอนไม่หลับ (คนกลุ่มอินพร่อง)
5 ก.ย. 2565
เมนูโสมตุ๋นกระดูกหมูนี้แฝงไปด้วยคุณประโยชน์มากมาย ช่วยบำรุงร่างกายบำรุงหัวใจและสมอง ช่วยในการนอนหลับ เสริมภูมิต้านทานป้องกันหวัด
5 ก.ค. 2565
ประเทศไทยที่มีอากาศร้อนตลอดทั้งปี แต่แพทย์จีนมักให้คำแนะนำว่าไม่ควรทานอาหารเย็นๆ อย่างเช่นน้ำเย็น น้ำแข็ง หรือไอศกรีม
19 เม.ย 2565
อวัยวะที่สำคัญในการดำรงชีวิตของเรานั่นคือ ดวงตา หากไม่ดูแลดวงตาให้ดี สายตาเรานั้นจะค่อยๆถดถอยเสื่อมลงตามอายุ โดยเฉลี่ยอายุ 40-45 ปี สายตาจะค่อยๆเสื่อมลง
7 ม.ค. 2565
ผู้ป่วยที่มีความจำถดถอย เมื่อผ่านเจอเหตุการณ์ไปสักพักก็มักหลงลืมง่าย มีความสัมพันธ์กับอวัยวะในทางการแพทย์แผนจีน คือ สมอง หัวใจ ม้าม และไต ที่อ่อนแอลง สาเหตุจากชี่ เลือด และอินพร่อง เลือดคั่งจากชี่ติดขัด หรือเสมหะขุ่นรบกวนส่วนบนทำให้สมองขาดการหล่อเลี้ยงที่ดี
20 ก.ย. 2564
วิธีการดูลิ้นที่คนทั่วไปสามารถดูได้ด้วยตนเอง รวมถึงการนวดกดจุดและโภชนบำบัดตามสีของลิ้นและฝ้า เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพ
15 ก.ย. 2564
การดึงหลัง เป็นหนึ่งในวิธีการรักษาโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทแบบการแพทย์แผนจีนดั้งเดิม วิธีนี้เริ่มมีการใช้เพื่อการรักษา ครั้งแรกในสมัยราชวง์ชิง จากการบันทึกของตำราแพทย์แผนจีนโบราณ “อีจงจินเจี้ยน” ได้กล่าวไว้ว่า วิธีการดึงหลังแบบพานซั่วเตี้ยนจวนฝ่า “攀索叠砖法”
19 ก.ค. 2564
การติดเชื้อโควิด19 จัดอยู่ในกลุ่มโรคอาการอ่อนเพลีย(虚劳)นอนไม่หลับ(不寐)ความจำลดประสิทธิภาพ(健忘)วิตกกังวลหรือซึมเศร้า(郁证)หัวใจเต้นผิดจังหวะ (心悸)หายใจลำบากหรือความเสียหายในปอด(肺痿/肺胀)ปวดหัว(头痛)กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย (痿证)
23 มี.ค. 2564
เฟ่ยจื่อ หรือ ผดร้อน เป็นโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยในฤดูร้อน ที่มีอากาศร้อนจัดหรือร้อนอบอ้าว อาการเด่นคือมีผื่นหรือตุ่มน้ำเล็กๆขึ้นบนผิวหนัง ร่วมกับมีเหงื่อออกมาก มักพบบ่อยในเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ บุคคลที่มีรูปร่างเจ้าเนื้อ หรือบุคคลที่ใส่เสื้อผ้ารัดรูป ค่อนข้างคับแน่น หรือผ้าเนื้อหนา
3 ก.พ. 2564
อาการวัยทอง คือผู้หญิงที่อยู่ในช่วงก่อนหรือหลังหมดประจำเดือน เนื่องจากการทำงานของรังไข่ลดลงทำให้การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติผิดปกติ ร่วมถึงมีผลกระทบกับสภาพจิตใจอีกด้วย ส่วนมากจะพบในผู้หญิงที่มีอายุระหว่าง 45-55 ปี
3 ก.พ. 2564
ปัจจัยที่ทำให้เพศชายวัยกลางคนเข้าสู่ภาวะวัยทอง ในมุมมองแพทย์แผนจีน คือ ร่างกายไม่สมบูรณ์ตั้งแต่แรกเกิดสารจำเป็นไม่เพียงพอ , อายุที่มากขึ้น , การรับประทานอาหารที่ไม่สมดุล , ใช้ชีวิตเหนื่อยมากเกินไป เครียด วิตกกังวล เจอสภาพแวดล้อม หรือ สิ่งแวดล้อมไม่ดีจนเกินไป
2 ก.พ. 2564
โรคปอดบวมไวรัสโคโรนา 2019 : อยู่ในหมวดหมูของ "โรคระบาด (疫病) " ตามศาสตร์การแพทย์แผนจีน สาเหตุการเกิดโรคคือ การสัมผัส ได้รับ ติดเชื้อโรคระบาด ลักษณะการแสดงอาการแต่ละพื้นที่มีความแตกต่าง เป็นไปตามลักษณะของเชื้อก่อโรค สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ วิถีการดำเนินชีวิต ถึงแม้จะโรคเดียวกัน แต่การรักษาไม่เหมือนกัน
2 ก.พ. 2564
การแพทย์แผนจีนจัด โรค COVID-19 อยู่ในขอบเขตของ “โรคระบาด(“瘟疫”เวินอี้)” ปัจจุบันมีข้อมูลงานวิจัยมากมายแสดงให้เห็นว่าจุดเด่นของ โควิท19 คือสามารถติดต่อได้จากคนสู่คน การระบาดมีความสอดคล้องกับภูมิภาค สิ่งเหล่านี้บ่งบอกว่าโรคโควิท19 ในทางการแพทย์แผนจีนจัดอยู่ในขอบเขตของโรค “เวินอี่ (瘟疫)” ซึ่งเป็นหนึ่งในประเภทของโรค “เวินปิ้ง (温病)”
25 ม.ค. 2564
การกดจุด เป็นหนึ่งวิธีบำรุงรักษาสุขภาพที่สำคัญมาตั้งแต่ยุคโบราณ เมื่อต้องเผชิญกับโรคระบาดร้ายแรง เช่น โรคปอดอักเสบ COVID-19 นี้ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันร่างกายให้แข็งแรง ถือเป็นสิ่งที่สำคัญ
22 ม.ค. 2564
การนวดกดจุดฝังเข็มบนใบหู เป็นเสมือนจุดสะท้อนการทำงานของอวัยวะต่างๆภายในร่างกาย มีสรรพคุณในการผ่อนคลาย ลดความเครียด กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย อีกทั้งยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการนอนหลับให้ดียิ่งขึ้น
16 ธ.ค. 2563
จุดไป่หุ้ย 百会穴 สรรพคุณ : บำรุงพลังหยางทั้งร่างกาย ลดปวดศีรษะ เวียนศีรษะ เบื่ออาหาร อาการท้องบีบเกร็ง มดลูกหย่อน เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคทางจิต
26 ส.ค. 2563
"เว่ยชี่" หรือภูมิคุ้นกันทางการแพทย์แผนจีน คือ การป้องกันการรุกรานจากภายนอก ทําให้ร่างกายอบอุ่น อวัยวะภายใน กล้ามเนื้อและขนที่อยู่ด้านนอก ล้วนได้รับการหล่อเลี้ยงด้วยเว่ยชี ปรับและควบคุมการเปิดปิดของรูขุมขน ของร่างกาย และควบคุมการขับเหงื่อ
26 ส.ค. 2563
นวดทุยหนา 3 ช่วงวัย ทุยหนาสำหรับเด็ก : เน้นการรักษาจากภายนอกเข้าสู่ภายใน“โรคในเด็กมักเกิดขึ้นเร็ว แต่หายเร็ว” ทุยหนาสำหรับผู้ใหญ่ : กระตุ้นการไหลเวียน คลายกล้ามเนื้อ เสริมความแข็งแรงกระดูกและเส้นเอ็น ทุยหนาสำหรับดูแลสุขภาพ หรือ ผู้สูงอายุ : ปรับการทำงานของอวัยวะภายใน เพื่อเพิ่มระบบภูมิคุ้มกัน
26 ส.ค. 2563
โรคผิวหนังกับแพทย์จีน สาเหตุ คือ ปัจจัยภายใน : พันธุกรรม การใช้ชีวิตประจำวัน อาหาร และ อารมณ์ ปัจจัยภายนอก : ปัจจัยภายนอกทั้ง 6 ( 六淫:ลิ่วอิ่น) ไวรัสโรคระบาด
5 ส.ค. 2563
ดังคำกล่าวโบราณในคัมภีร์เน่ยจิงที่ว่า “แพทย์ที่ดีจะต้องรักษาก่อนที่จะเจ็บป่วย (上工治未病) ” นั่นหมายรวมถึงการป้องกันก่อนที่จะเกิดโรค เมื่อเป็นโรคแล้วก็ต้องป้องกันไม่ให้เปลี่ยนหรือพัฒนาโรคให้เป็นหนัก และเมื่อโรคเปลี่ยนไปแล้วก็ต้องป้องกันไม่ให้พัฒนาต่อ ส่วนในการรักษาด้วยการแพทย์แผนจีนนั้น มีจุดเด่นคือต้องทำการตรวจวินิจฉัยผู้ป่วยแต่ละคน แล้วให้ยารักษาเฉพาะบุคคล 1 คน ต่อ 1 ตำรับ เนื่องจากสภาพร่างกายแต่ละคนไม่เหมือนกัน
26 มิ.ย. 2563
ในคัมภีร์หวงตี้เน่ย์จิงได้บรรยายถึงเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีระของผู้สูงอายุไว้ว่า เมื่อคนเราอายุย่างเข้า 50 ปี พลังในอวัยวะทั้งห้าจะค่อยๆเสื่อมถอย หูตาเริ่มไม่ค่อยดีเหมือนเดิม จิตใจอ่อนไหว มีความวิต กกังวล เมื่ออายุ 60 ปีขึ้นไป พลังยิ่งทรุดโทรม กระดูกเอ็นและสมรรถนะทางเพศเริ่มเสื่อม