24 มี.ค. 2565
กลไกการเกิดโรค คือ เสินหัวใจขาดการหล่อเลี้ยง หรือ ถูกรบกวน จิตใจไม่สงบ การทำงานของเส้นลมปราณอินเฉียวม่าย หยางเฉียวม่ายขาดสมดุล หยางแกร่ง อินพร่อง อินหยางขาดสมดุล หยางไม่เข้าสู่อิน
17 มี.ค. 2565
เด็กมีปัญหาด้านการเจริญเติบโต มีความเกี่ยวข้องกับปัจจัยพฤิกรรมชีวิตไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง การฝังเข็ม เป็นอีกวิธีการปรับสมดุลของอวัยวะภายในที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเด็ก ไม่ว่าจะเป็น ตับ ม้าม ไต เพื่อให้อวัยวะเหล่านี้ทำงานได้อย่างเป็นปกติ บำรุงเลือด บำรุงชี่ รวมถึงสมดุลอินหยางในร่างกาย
17 มี.ค. 2565
อาการปวดตึงบริเวณข้อมือฝั่งนิ้วหัวแม่มือ หากต้องเขียนหนังสือ ขับรถ เปิดขวดน้ำ ปลอกเปลือกผลไม้ จะรู้สึกเจ็บมากจนมีผลกับการใช้ชีวิตประจำวัน
11 มี.ค. 2565
การรักษาในปัจจุบัน มีทั้งพฤติกรรมบำบัด การใช้ยา การผ่าตัดเพื่อใส่เครื่องกระตุ้นสมองส่วนลึก ในระยะเริ่มต้นสามารถนำศาสตร์การแพทย์แผนจีนเข้ามาร่วมรักษา ได้แก่ การฝังเข็ม ยาสมุนไพรจีนเพื่อลดความเครียด ความกังวลของเด็ก ลดอาการกระตุกเกร็งของกล้ามเนื้อ ถือเป็นอีกหนึ่งวิธีรักษาที่ได้ผลดี
25 ก.พ. 2565
รักษาด้วยการฝังเข็ม โดยใช้หลักการรักษา ระบายไฟตับ กระตุ้นการไหลเวียนเลือด ขับพิษ ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดปลายประสาทหลังจากผื่นงูสวัดหายแล้ว และอาจมีอาการกำเริบช่วงที่อากาศเปลี่ยนแปลง
26 ม.ค. 2565
อาการที่ทำให้หลายๆคนสะดุ้งตื่นกลางดึก และเกิดความเจ็บปวดอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนอาการจะทุเลาลง โดยมักจะเกิดกับกล้ามเนื้อด้านหลังต้นขา (Hamstrings) หรือ ด้านหลังของน่อง (Calf)
12 ม.ค. 2565
ปัจจัยภายใน มักเกิดจากภาวะทางอารมณ์ที่ฉุนเฉียวโมโห ตกใจกลัว ลมและไฟของตับและถุงน้ำดีรุกรานเบื้องบน หรืออาจเกิดจากเลือดคั่ง เสมหะอุดกั้นทวารหูทำให้ชี่ของเส้นลมปราณเส้าหยางอุดกั้น หรือ ชี่และเลือดพร่อง ไม่สามารถหล่อเลี้ยงทวารหูจึงเกิดอาการหูดับเฉียบพลัน
7 ต.ค. 2564
การป้องกันโรคตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนเน้นการส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงและการป้องกันการเกิดโรค ป้องกันการเปลี่ยนแปลงของโรคไม่ให้ดำเนินไปในทิศทางที่แย่ลง และป้องกันโรคไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ แพทย์แผนจีนเชื่อว่าการป้องกันโรคจำเป็นต้องเน้นการเสริมความแข็งแกร่งให้กับภูมิต้านทาน
24 ก.ย. 2564
มีนักกีฬาจำนวนไม่น้อยที่หันมาพึ่งวิธีการรักษาทางด้านแพทย์แผนจีนไม่ว่าจะเป็น การฝังเข็ม ครอบแก้ว นวดทุยหนา เช่น ไมเคิลเฟลปป์ นักกีฬาว่ายน้ำโอลิมปิค เลือกใช้วิธีการครอบแก้วก่อนการแข่งขันกีฬา
21 ก.ย. 2564
การฝังเข็มเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่รักษาภาวะนอนไม่หลับได้ นอกจากนี้ควรควบคู่กับการปรับพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ปรับเวลาเข้านอนและตื่นนอนให้เป็นระบบ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณพอเหมาะ และที่สำคัญคือปรับอารมณ์และจิตใจให้ผ่อนคลายร่วมด้วย
20 ก.ย. 2564
วิธีการดูลิ้นที่คนทั่วไปสามารถดูได้ด้วยตนเอง รวมถึงการนวดกดจุดและโภชนบำบัดตามสีของลิ้นและฝ้า เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพ
20 พ.ค. 2564
โรคที่เกี่ยวข้องที่อาจพบอาการชาร่วมด้วย เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน (เส้นประสาทถูกทำลายจากโรคเบาหวาน) เป็นต้น สำหรับอาการชาและอาการปวดต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในทางแพทย์แผนจีน จัดอยู่ในกลุ่ม “โรคปี้เจิ้ง” เกิดจากเลือดลมที่ไหลเวียนได้ไม่ดี
23 ก.พ. 2564
อาการผิดปกติของการได้ยิน หูอื้อ เสียงดังในหูมีเสียงความถี่สูงคล้ายเสียงแมลง หรือเสียงความถี่ต่ำคล้ายเสียงเครื่องจักรในหู สาเหตุและกลไกของการเกิดโรค แนวทางการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีน และ การป้องกันและบำรุงรักษาร่างกาย
25 ม.ค. 2564
การกดจุด เป็นหนึ่งวิธีบำรุงรักษาสุขภาพที่สำคัญมาตั้งแต่ยุคโบราณ เมื่อต้องเผชิญกับโรคระบาดร้ายแรง เช่น โรคปอดอักเสบ COVID-19 นี้ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันร่างกายให้แข็งแรง ถือเป็นสิ่งที่สำคัญ
22 ม.ค. 2564
การนวดกดจุดฝังเข็มบนใบหู เป็นเสมือนจุดสะท้อนการทำงานของอวัยวะต่างๆภายในร่างกาย มีสรรพคุณในการผ่อนคลาย ลดความเครียด กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย อีกทั้งยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการนอนหลับให้ดียิ่งขึ้น
16 ธ.ค. 2563
จุดไป่หุ้ย 百会穴 สรรพคุณ : บำรุงพลังหยางทั้งร่างกาย ลดปวดศีรษะ เวียนศีรษะ เบื่ออาหาร อาการท้องบีบเกร็ง มดลูกหย่อน เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคทางจิต
28 ก.ย. 2563
อุจจาระแข็ง ถ่ายออกยาก ต้องใช้เวลาในการขับถ่ายอุจจาระนาน หรือแม้จะใช้เวลาไม่นานหากขับถ่ายยากก็นับเป็นอาการท้องผูกด้วย กลไกของโรคทางแพทย์แผนจีนเกี่ยวข้องกับภาวะร้อนคั่งในกระเพาะอาหารและลำไส้ หรือมีภาวะหยางพร่อง
3 ส.ค. 2563
หมอจีนป้องกันรักษาโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) หรือ จ้งเฟิง ตั้งแต่ยังไม่ป่วยได้อย่างไร ? รีบรักษาแต่เนิ่นๆ ดับไฟเสียแต่ต้นลม เมื่อป่วยแล้วจะต้องป้องกันไม่ให้โรคพัฒนาเป็นหนักขึ้นอย่างไร ? รวมไปถึงระยะพักฟื้น หรือ ระยะฟื้นตัวหลังการเจ็บป่วย ป้องกันไม่ให้กลับมาป่วยซ้ำอีก
21 ก.ค. 2563
การรักษาด้วยวิธีแพทย์แผนจีนสามารถรักษาได้ตั้งแต่ทารกรวมไปถึงในเด็กเล็ก ซึ่งในกาารรักษาจะผสมผสานตั้งแต่เริ่มต้นตรวจวินิจฉัย การใช้ยาจีนในเด็กทั้งแบบยารับประทานและยาใช้ภาพยนอก รวมไปถึงการฝังเข็มและการนวดทุยหนาในเด็ก
7 ก.ค. 2563
กลุ่มโรคและภาวะอาการของโรคหลอดเลือดสมอง (สมองขาดเลือด) รวมไปถึงโรคที่ตามมาหลังจากเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งสามารถรักษาด้วยวิธีการฝังเข็มร่วมกับหัตถการเสริมการรักษาอื่นๆร่วมด้วย เช่น การรมยา เข็มอุ่น กระตุ้นไฟฟ้า ครอบแก้ว ฯลฯ รวมไปถึงการรักษาเสริมในภาคยาจีนทั้งในระยะเฉียบพลัน รวมไปถึงการใช้ยาจีนรักษาโรคหลอดเลือดสมอง (ก้านสมองตาย) ในระยะฟื้นตัว
27 เม.ย 2563
การแพทย์แผนจีน เน้นการส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงด้วยหลักการหย่างเซิงสุขภาพด้วยตนเอง ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญการป้องกันการเกิดโรค
24 เม.ย 2563
ปัจจุบันผลการวิจัยทางคลินิกและห้องปฏิบัติการแสดงให้เห็นว่า การฝังเข็มและการรมยาสามารถปรับสมดุลระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย มีสรรพคุณต้านการอักเสบ ต้านการติดเชื้อ ค่อนข้างได้ผลดีในการป้องกันและรักษาโรคติดต่อ
6 ม.ค. 2563
แนวทางการรักษาภาวะอักเสบรอบข้อไหล่ กล้ามเนื้อเอ็นบริเวณต้นคอไหล่อักเสบ เอ็นข้อศอกอักเสบ กลุ่มอาการของข้อพับมือด้วยวิธีการรักษาของแพทย์แผนจีน
26 ธ.ค. 2562
กลุ่มอาการลำไส้ไวต่อสิ่งเร้า เป็นภาวะที่ลำไส้ทำหน้าที่ผิดปกติโดยไม่มีพยาธิสภาพหรือความผิดปกติของโครงสร้างลำไส้และโรคทางกายอื่นใด ก่อให้เกิดอาการปวดท้องมีลมในท้องมาก ร่วมกับท้องเดินหรือท้องผูกแบบเรื้อรัง จัดว่าเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดของอาการท้องเดินเรื้อรัง
7 พ.ย. 2562
มีประวัติได้รับบาดเจ็บที่บริเวณเอว หรือบริเวณเอวเคยแบกรับน้ำหนักไม่เท่ากัน หรือเกิดจากการได้รับลมเย็นแล้วกระตุ้นให้เกิด โดยมากจะพบว่าเพศชายจะเป็นได้มากกว่าเพศหญิง และพบมากในวัยรุ่น โดยจะมีอาการปวดเอวร่วมกับปวดร้าวลงขา
28 ต.ค. 2562
โรคที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวบ่อย ไม่อยู่นิ่ง สติ สมาธิสั้น หากต้องทำงานหรืออ่านหนังสืออยู่เป็นระยะเวลานานจะวอกแวกได้ง่าย จิตใจไม่นิ่ง
16 ต.ค. 2562
โรคทางด้านระบบประสาทที่มีอาการย้ำคิดย้ำท้ำเป็นอาการหลัก มักมีปัจจัยด้านจิตใจกระตุ้น สาเหตุมาจากไม่สบอารมณ์ การกระจายของชี่ติดขัด มีอาการหลักทางคลินิก คือ อารมณอัดอั้น กลัดกลุ้ม อารมณ์แปรปรวน แน่นหน้าอก ปวดแน่นชายโครง โกรธง่าย ร้องไห้ง่าย รู้สึกมีสิ่งแปลกปลอมติดคอ
15 ต.ค. 2562
โรคนี้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับตับ ม้าม และไต อวัยวะตันทั้ง 3 อย่างใกล้ชิด มีพยาธิการเกิดโรคหลัก คือ ลมปราณ สารจิง สารน้ำไม่เพียงพอ ทำให้เส้นเอ็นขาดการบำรุงเลี้ยง เป็นโรคที่ซ่อนเร้นเกิดอย่างเงียบเชียบ ยืดเยื้อยาวนาน มีพยากรณ์โรคที่ไม่ดี
11 ต.ค. 2562
อาการผิดปกติของการได้ยิน หูอื้อ คือมีเสียงดังในหู เหมือนมีเสียงซ่าๆ เสียงจักจั่นร้องดังในหู ส่วนหูตึง หูดับ คือ ความสามารถของการได้ยินลดลงหรืออยู่ดีๆความสามารถในการได้ยินกลับหายไป (หูดับแบบเฉียบพลันทันทีแบบไม่เคยเป็นมาก่อน)
12 ก.ย. 2562
การฝังเข็มหู สามารถใช้รักษาและป้องกันโรคของร่างกายและอวัยวะต่างๆได้ โดยการกระตุ้นจุดที่มีตำแหน่งแน่นอนบนใบหู ด้วยเข็ม หรือวัสดุกระตุ้นหูที่เหมาะสม