ทุยหนา

โรคที่เกิดขึ้นกับเด็กๆ โดยส่วนใหญ่มักจะเกิดในช่วงฤดูฝน หรือ ฤดูร้อน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่อากาศเปลี่ยนแปลงรวมทั้งยังมีทั้งความร้อนและความชื้นในอากาศในเวลาเดียวกัน   สิ่งที่ตามมากับความชื้นคือ ปัญหาด้านการปรับอุณหภูมิในร่างกายของเด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็ก ที่มีอาการผิดปกติต่างๆในร่างกาย ก็มักมีสาเหตุมาจากความชื้น

การแช่เท้า เป็นดังยาอายุวัฒนะที่ช่วยให้สุขภาพแข็งแรงขึ้น ช่วยปรับสมดุลต่อมไร้ท่อ เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของอวัยวะต่างๆภายในร่างกาย

โรคที่เกี่ยวข้องที่อาจพบอาการชาร่วมด้วย เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน (เส้นประสาทถูกทำลายจากโรคเบาหวาน) เป็นต้น สำหรับอาการชาและอาการปวดต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในทางแพทย์แผนจีน จัดอยู่ในกลุ่ม “โรคปี้เจิ้ง” เกิดจากเลือดลมที่ไหลเวียนได้ไม่ดี

อาการของการชาตามนิ้วมือนั้น จะรู้เจ็บแปลบที่บริเวณ ปลายนิ้ว คล้ายถูกเข็มแทงหรือไฟฟ้าช็อต บางคนอาจรู้สึกปวดแสบปวดร้อนภายใน ซึ่งถ้าหากมีความรุนแรงมาก ก็อาจจะทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถหยิบจับสิ่งของได้ตามปกติ หากเกิดขึ้นแบบนานครั้ง ครั้งละไม่กี่วินาที ก็ไม่มีอะไรน่าเป็นห่วง เพราะอาจเกิดจากการขาดเลือดมาหล่อเลี้ยงแบบชั่วคราว แต่ถ้าเกิดขึ้นบ่อยๆ จนไม่สามารถใช้งานมือได้ตามปกติ ก็แสดงว่าอาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของมือและนิ้วมือแล้ว

ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดหลัง ร้าวลงขา โดยจะร้าวตั้งแต่สะโพกลงไป ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของหมอนรองกระดูกกว่ากดทับเส้นประสาทใด สามารถร้าวได้ตั้งแต่สะโพกไปจนถึงเท้า ในบางรายอาจมีอาการชา และอาการอ่อนแรงร่วมด้วย

"อาการชา" เป็นหนึ่งในอาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท นอกจากนี้ยังเกิดจากสาเหตุอื่นได้ เช่น การใช้งานหนักบริเวณแขนและข้อมือ การขาดวิตามินบี หรือ สาเหตุจากอาการป่วย เช่น โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคเส้นประสาทข้อมือถูกกดทับ โรคเบาหวาน โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคหลอดเลือด เป็นต้น ดังนั้น เมื่อมีอาการชา จึงไม่ควรนิ่งนอนใจ หรือปล่อยให้อาการนี้เป็นต่อเนื่องโดยไม่เริ่มต้นรักษา เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณที่ส่อถึงอันตรายต่อสุขภาพในระยะยาวได้

หากร่างกายเรามีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ ก็จะก่อให้เกิดประโยชน์ในหลาย ๆ ด้าน เช่น ทำให้เลือดและชี่ไหลเวียนสะดวก ทำให้กระดูกและเส้นเอ็นแข็งแรง ทำให้ข้อต่อต่าง ๆ ในร่างกายไหลลื่น อวัยวะภายในร่างกายก็จะแข็งแรงขึ้น เราก็จะมีจิตใจที่แจ่มใส และมีอายุที่ยืนยาว แพทย์จีนจึงแนะนำวิธีการป้องกันร่างกายจากโรคต่างๆ ด้วยท่ากายบริหาร เพื่อสุขภาพแข็งแรงที่ดียิ่งขึ้น

แนะนำเมนูจากสมุนไพร 5 ชนิด ที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อผู้สูงวัย ช่วยบรรเทาอาการที่ผู้สูงอายุพบได้บ่อย เช่น ขับถ่ายลำบาก กระดูกไม่แข็งแรง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดสูง ระบบย่อยอาหารทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ เป็นต้น และสามารถลดการบริโภคยา ปรับสมดุลของร่างกาย ยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

อาการปวดเมื่อยในผู้สูงอายุมีได้หลายสาเหตุ อันแรกคือ โรคข้อเสื่อม ซึ่งเกิดตามข้อต่างๆ เกิดในคนที่มีอายุมาก ซึ่งจะเป็นเกือบทุกคน และอีกอย่างคือโรค กระดูกผุ มีเนื้อของกระดูกบางลง อันดับที่สาม คือโรคหมอนรองกระดูกทับประสาท และอีกประการหนึ่งก็ได้แก่ พวกโรครูมาติสซั่ม นอกจากนั้นก็อาจจะมาจากโรคไต หรือโรคกระเพาะอาหาร

"ในคัมภีร์หวงตี้เน่ยจิง" ได้กล่าวถึงเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีระของผู้สูงอายุไว้ว่า ผู้หญิงเมื่อถึงวัย 35 ปี หยางหมิง (阳明) เริ่มถดถอย ใบหน้าเริ่มคล้ำ ผมเริ่มร่วง และผู้ชาย อายุ 40 ปี ชี่ของไตเริ่มถดถอย ผมร่วง และเหงือกร่น

นวดทุยหนา 3 ช่วงวัย ทุยหนาสำหรับเด็ก : เน้นการรักษาจากภายนอกเข้าสู่ภายใน“โรคในเด็กมักเกิดขึ้นเร็ว แต่หายเร็ว” ทุยหนาสำหรับผู้ใหญ่ : กระตุ้นการไหลเวียน คลายกล้ามเนื้อ เสริมความแข็งแรงกระดูกและเส้นเอ็น ทุยหนาสำหรับดูแลสุขภาพ หรือ ผู้สูงอายุ : ปรับการทำงานของอวัยวะภายใน เพื่อเพิ่มระบบภูมิคุ้มกัน

ช่วยทำให้เส้นเอ็นมีความยืดหยุ่น สร้างความแข็งแรงให้กระดูกและร่างกาย เสริมชี่ อีกทั้งยังสามารถขับเคลื่อนชี่ กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ปรับสมดุลการทำงานของอวัยวะตันทั้ง 5 และอวัยวะกลวงทั้ง 6 ปรับสมดุลการทำงานของเส้นประสาทและของเหลวภายในร่างกาย เพิ่มการไหลเวียนของเลือด เป็นการช่วยนวดอวัยวะภายในช่องท้องอย่างอ่อนโยน ปรับการทำงานของระบบประสาท ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ รวมถึงระบบกล้ามเนื้อได้เป็นอย่างดี

คู่มือการนวดทุยหนากดจุดแบบแพทย์แผนจีนสำหรับเพิ่มภูมิต้านทานป้องกัน COVID-19 ฉบับแปลไทย เพื่อให้คนไทยได้นวดทุยหนากดจุดแบบแพทย์แผนจีนสำหรับเพิ่มภูมิต้านทานป้องกันได้ด้วยตนเอง เหมาะสำหรับผู้ที่ยังไม่มีอาการ , ผู้ป่วยระยะแรก ตลอดจนผู้ป่วยCOVID-19 ระยะฟื้นฟู

เมื่อมีอายุมากขึ้น หมอนรองกระดูกสันหลังเกิดการเสื่อมสภาพ Nucleus pulposus มีส่วนประกอบของน้ำค่อยๆ ลดลง  สูญเสียความยืดหยุ่น  ระยะห่างระหว่างกระดูกสันหลังแคบลง  ligament รอบๆ กระดูกสันหลังเกิดการหย่อน

อาการที่เกิดขึ้นกับคุณแม่หลายๆท่าน ซึ่งเกิดมาจากพฤติกรรมชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะ คุณแม่ที่ต้องทำทั้งงานประจำ งานบ้าน รวมถึงเลี้ยงลูกด้วยตนเอง

พฤติกรรมชีวิตที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจำติดต่อกันเป็นเวลานาน แม่บ้าน หรือนักกีฬา พบมากในผู้ป่วยวัยทำงานที่ช่วงอายุ 30-60 ปี

สาเหตุของอาการปวด เกิดได้ทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกร่างกาย ในทางการแพทย์แผนจีน ได้จัดหมวดหมู่กลุ่มอาการปวด ไม่ว่าจะเป็นอาการปวดคอ ปวดเอว ปวดข้อ และปวดกล้ามเนื้อ อยู่ในกลุ่มอาการ ปีเจิ้ง

การนวดทุยหนาเด็ก มีประวัติการรักษามาอย่างยาวนาน พร้อมๆกับการนวดเพื่อรักษาอาการปวดโดยทั่วไป วิธีการนวดทุยหนาในเด็กจะอาศัยหลักการของแพทย์แผนจีนโบราณทั้งทฤษฎีการตรวจแยกแยะวิเคราะห์โรค

เยื่อหุ้มชั้นนอกของหมอนรองกระดูกที่อยู่บริเวณสันหลังได้รับแรงกดหรือแรงกระแทก ทำให้เนื้อเยื่อชั้นนอกค่อยๆถูกทำลายหรือฉีกขาด

เมื่อกระดูกสันหลังระดับเอวเคลื่อนไปด้านหน้าเหนือข้อต่อปล้องกระดูกสันหลังชิ้นล่างที่อยู่ติดกัน ทำให้โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบลง เกิดการกดเบียดรากประสาท ที่พบบ่อยคือการเสื่อมสภาพของกระดูกสันหลัง

ผู้ป่วยมีอาการปวดหัวเข่าด้านขวา เดินนานมีอาการปวดหัวเข่ามาก ขึ้นลงบันไดลำบาก ไม่สามารถนั่งยองได้

ถ้าเราก้มหน้า  60 องศา กระดูกคอเราจะรับน้ำหนักถึง 27 กิโลกรัม !!! เทียบเท่ากับเอาเด็ก 8 ขวบขึ้นมานั่งบนหัว ยิ่งก้มคอใช้สมาร์ทโฟนนานๆมากเท่าไรหมอนรองกระดูกต้นคอยิ่งเสื่อมมากขึ้นเท่านั้น             

ตัวอย่างการรักษาก้อนถุงน้ำบนข้อมือด้วยวิธีแพทย์แผนจีน

แนะนำการนวดกดจุดที่จะช่วยบรรเทาอาการปวดหัวเวียนหัวได้ด้วยตนเอง  ช่วยกระตุ้นให้เลือดไปเลี้ยงสมองมากขึ้น  ลดอาการตึง  เกร็งของกล้ามเนื้อคอบ่า 

กรณีศึกษาการรักษากลุ่มอาการด้านกระดูกและกล้ามเนื้อ อาการปวดต้นคอด้านซ้าย มีวิธีการประเมินการรักษาและขั้นตอนการรักษาโดยวิธีการรักษาแบบแพทย์แผนจีนอย่าง

การนอนหงายขาตั้งฉากกับลำตัว  แล้วเอาขาพาดอยู่บนเก้าอี้  นอนท่านี้เป็นเวลา 10-15 นาที โดยไม่เคลื่อนไหวลำตัว สามารถบรรเทาอาการปวดหลังได้จริงหรือ ?

อุบัติเหตุขณะออกกำลังกาย หกล้ม ได้รับแรงกระแทก บิดตัวผิดท่ามีอาการเจ็บปวด  บวมหรือฟกช้ำเฉพาะที่  อาจมีการจำกัดการเคลื่อนไหว  หรือเคลื่อนไหวร่างกายส่วนนั้นไม่ได้

กลุ่มอาการปวดจากพังผืดกล้ามเนื้อ เป็นกลุ่มอาการที่มีลักษณะปวดอันเนื่องจากมี “จุดกดเจ็บเฉพาะ” (Trigger point ; TrP) ในกล้ามเนื้อ

อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อหลังและเอวพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ อาการเหล่านี้เกิดขึ้นจากอะไร  ทั้งๆที่พวกท่านก็ไม่ได้ทำงานหนักแต่ทำไมจึงปวดบ่อยๆ

การเคลื่อนไหวนิ้วเริ่มมีการสะดุด โดยเฉพาะเวลาที่อากาศเย็น หรือเวลาตื่นนอนตอนเช้า นิ้วจะอยู่ในท่าเกร็งงอ หรือเหยียดตรงแต่กำมือไม่ลง จะต้องใช้มือช่วยง้างออก หรือหากล็อกอยู่ในท่าเหยียดตรงก็จะกำมือไม่ได้ มีอาการแสดงที่หลากหลาย ตั้งแต่เจ็บฐานนิ้ว นิ้วฝืด นิ้วสะดุด นิ้วกระเด้ง นิ้วล็อก นิ้วโก่ง นิ้วแข็ง นิ้วบวม นิ้วชา กำนิ้วไม่ลง นิ้วเกยกัน

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้