4 ส.ค. 2564
มีรสขม เปรี้ยว เย็นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณตับและม้าม
22 ก.ค. 2564
หลายๆคนเมื่อโดนแมลงกัดต่อย เช่น โดนยุง หรือมดกัด แล้วเกิดเป็นตุ่ม มีอาการบวม คัน จากนั้นผิวจะเริ่มอักเสบ ที่ผิวหนังเริ่มมีตุ่มพุพองขึ้น ลุกลามเริ่มมีน้ำเหลืองไหลเยิ้มออกมา บางคนแผลหายช้า กว่าแผลจะแห้งก็นานหลายสัปดาห์
21 ก.ค. 2564
อวัยวะสำคัญในระบบทางเดินอาหาร ม้ามเปรียบได้กับธาตุดิน มีโครงข่ายเชื่อมโยงกับกระพาะอาหาร กล้ามเนื้อ ริมฝีปากและปาก ม้ามและกระเพาะอาหารเป็นรากฐานของชีวิตหลังคลอด ทำหน้าที่ควบคุมเลือดและลมปราณ
19 ก.ค. 2564
การติดเชื้อโควิด19 จัดอยู่ในกลุ่มโรคอาการอ่อนเพลีย(虚劳)นอนไม่หลับ(不寐)ความจำลดประสิทธิภาพ(健忘)วิตกกังวลหรือซึมเศร้า(郁证)หัวใจเต้นผิดจังหวะ (心悸)หายใจลำบากหรือความเสียหายในปอด(肺痿/肺胀)ปวดหัว(头痛)กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย (痿证)
14 ก.ค. 2564
หัวใจควบคุมสติ (เสิน) สีหน้า นัยน์ตา คำพูด ความมีชีวิตชีวา และการตอบสนองต่อสิ่งเร้า การเคลื่อนไหวของแขนขา หัวใจเป็นทุนของชีวิต เป็นจิตที่แปรเปลี่ยน
13 ก.ค. 2564
มีรสเผ็ด ขม อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณไตและม้าม
13 ก.ค. 2564
มีรสขม หวานและฝาดสมาน เย็นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณปอด ตับ และกระเพาะอาหาร มีฤทธิ์ฝาดสมานและห้ามเลือด ลดบวม ช่วยสร้างเนื้อเยื่อใหม่
13 ก.ค. 2564
ปอดทำหน้าที่ควบคุมการไหลเวียนของลมปราณ โดยการแผ่กระจายออกข้างนอกลมปราณปอด เพื่อให้ความชุ่มชื้นแก่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย และนำส่วนที่เหลือใช้ขับออกจากร่างกายทางลมหายใจและเหงื่อ
13 ก.ค. 2564
เพื่อเพิ่มทักษะการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในการช่วยเหลือผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน และเป็นบทบาทหน้าที่ของผู้ให้บริการด้านสุขภาพ รวมไปถึงพัฒนาบุคลากรให้สามารถมีส่วนช่วยเหลือชีวิตผูัอื่นได้ในสถานการณ์ฉุกเฉิน
13 ก.ค. 2564
รสเปรี้ยวและฝาด เย็นมาก เข้าสู่เส้นลมปราณปอด ม้าม ตับ และลำไส้ใหญ่
12 ก.ค. 2564
มีรสเผ็ด มีพิษมาก ร้อน เข้าสู่เส้นลมปราณกระเพาะอาหารและลำไส้ใหญ่ ใช้ทาภายนอก รักษาแผลให้หายเร็วขึ้น
9 ก.ค. 2564
หลายคนสงสัยว่าควรงดหรือรับประทานยาจีนอย่างไรก่อน-หลังการฉีดวัคซีนโควิด-19 เพื่อไม่ให้ลดประสิทธิภาพในการได้รับวัคซีน และสามารถรับประทานยาสมุนไพรจีนได้อย่างต่อเนื่อง
21 มิ.ย. 2564
คนไทยชอบมากกับการดื่มน้ำเย็น ทั้งในหน้าร้อน หรือหน้าหนาว จะเป็นกลางวันหรือกลางคืน ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบน้ำเปล่า น้ำอัดลม ไอศครีม เบียร์เย็น ที่สำคัญชอบเพิ่มน้ำแข็งทำให้เย็นเร็วขึ้น น้ำเย็นเป็นอันตรายต่อร่างกายหรือไม่ ถ้าเรารู้ว่าน้ำเย็นจัดๆมีผลเสียกับร่างกาย สังเกตได้จากคนประเทศจีน หรือคนจีนในไทยอายุมากจะชอบดื่มน้ำอุ่นมากกว่าน้ำเย็น เพราะอะไรไปหาคำตอบกันครับ
4 มิ.ย. 2564
เส้นผมดกดำก็มาจากพลังของไต เพศสัมพันธ์ที่มากเกินทำให้พลังไตถูกปลดปล่อยออกมามากเกินไป ทานอาหารที่รสจัดบ่อยครั้งก็จะทำให้พลังไตลดลงได้เหมือนกัน
2 มิ.ย. 2564
บ่อยในเพศชายวัยกลางคน ทั้งโรคต่อมลูกหมากอักเสบ โรคต่อมลูกหมากโต โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับต่อมลูกหมากทำให้เกิดความผิดปกติในการขับปัสสาวะ
26 พ.ค. 2564
ชี่ หรือ ลมปราณมีการเคลื่อนไหวขึ้นบนลงล่างตลอดเวลา ขับดันและควบคุมการทำงานของร่างกาย เมื่อการเคลื่อนไหวของชี่สิ้นสุด ชีวิตก็สิ้นสุดด้วย
24 พ.ค. 2564
บุคลากรของคลินิกฯ เข้ารับการฉีดวัคซีน เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการลดการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 และเพื่อความปลอดภัยสูงสุดของผู้รับบริการและสังคมโดยรวม
20 พ.ค. 2564
โรคที่เกี่ยวข้องที่อาจพบอาการชาร่วมด้วย เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน (เส้นประสาทถูกทำลายจากโรคเบาหวาน) เป็นต้น สำหรับอาการชาและอาการปวดต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในทางแพทย์แผนจีน จัดอยู่ในกลุ่ม “โรคปี้เจิ้ง” เกิดจากเลือดลมที่ไหลเวียนได้ไม่ดี
20 พ.ค. 2564
อาการของการชาตามนิ้วมือนั้น จะรู้เจ็บแปลบที่บริเวณ ปลายนิ้ว คล้ายถูกเข็มแทงหรือไฟฟ้าช็อต บางคนอาจรู้สึกปวดแสบปวดร้อนภายใน ซึ่งถ้าหากมีความรุนแรงมาก ก็อาจจะทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถหยิบจับสิ่งของได้ตามปกติ หากเกิดขึ้นแบบนานครั้ง ครั้งละไม่กี่วินาที ก็ไม่มีอะไรน่าเป็นห่วง เพราะอาจเกิดจากการขาดเลือดมาหล่อเลี้ยงแบบชั่วคราว แต่ถ้าเกิดขึ้นบ่อยๆ จนไม่สามารถใช้งานมือได้ตามปกติ ก็แสดงว่าอาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของมือและนิ้วมือแล้ว
20 พ.ค. 2564
ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดหลัง ร้าวลงขา โดยจะร้าวตั้งแต่สะโพกลงไป ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของหมอนรองกระดูกกว่ากดทับเส้นประสาทใด สามารถร้าวได้ตั้งแต่สะโพกไปจนถึงเท้า ในบางรายอาจมีอาการชา และอาการอ่อนแรงร่วมด้วย
20 พ.ค. 2564
"อาการชา" เป็นหนึ่งในอาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท นอกจากนี้ยังเกิดจากสาเหตุอื่นได้ เช่น การใช้งานหนักบริเวณแขนและข้อมือ การขาดวิตามินบี หรือ สาเหตุจากอาการป่วย เช่น โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคเส้นประสาทข้อมือถูกกดทับ โรคเบาหวาน โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคหลอดเลือด เป็นต้น ดังนั้น เมื่อมีอาการชา จึงไม่ควรนิ่งนอนใจ หรือปล่อยให้อาการนี้เป็นต่อเนื่องโดยไม่เริ่มต้นรักษา เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณที่ส่อถึงอันตรายต่อสุขภาพในระยะยาวได้
18 พ.ค. 2564
เฟิงเซาหย่าง(风瘙痒)ในทางแพทย์แผนจีน หมายถึง โรคผิวหนังที่ไม่ได้มีรอยโรคปฐมภูมิแต่มีอาการคันเป็นหลัก หลังการเกาจะเกิดรอยเกา รอยแผลตกสะเก็ด และรอยดำคล้ำ นานวันผิวหนังจะเริ่มหนาตัว ผิวจะมีลักษณะสากหยาบ
18 พ.ค. 2564
ภาวะที่ผิวหนังมีการอักเสบหลังจากการถูกแมลงกัดหรือต่อย หลังจากผิวหนังมีการสัมผัสกับพิษจากสารคัดหลั่งหรือขนบนตัวของแมลง มีอาการหลัก คือ เกิดตุ่มนูน บวมขึ้นที่ผิวหนัง โดยบริเวณที่ถูกกัดอาจปรากฎเป็นตุ่มน้ำ ตุ่มแข็ง หรือจุดแดง เรียงตัวแบบกระจาย โดยชนิดของพิษจากแมลงที่พบได้บ่อยได้แก่ ยุง ริ้น ไร แมลงก้นกระดก บุ้ง หมัด เหา เรือด มอด ผึ้ง เป็นต้น
28 เม.ย 2564
การแพทย์แผนจีนจัด COVID-19 อยู่ในขอบเขตของ โรคระบาด (瘟疫 เวินอี้) ปัจจุบันมีข้อมูลงานวิจัยมากมายแสดงให้เห็นว่าจุดเด่นของ โควิด19 คือสามารถติดต่อได้จากคนสู่คน การระบาดมีความสอดคล้องกับภูมิภาค สิ่งเหล่านี้บ่งบอกว่าโควิด19 ในทางการแพทย์แผนจีนจัดอยู่ในขอบเขตของโรค “เวินอี้ (瘟疫)” ซึ่งเป็นหนึ่งในประเภทของโรค “เวินปิ้ง (温病)”
27 เม.ย 2564
(ฝังเข็ม) : ฝังเข็มรักษาโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต อัมพาตใบหน้า ไมเกรน ภูมิแพ้ นอนไม่หลับ หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ข้อเข่าเสื่อม โรคในผู้สูงอายุ เช่น ภาวะสมองเสื่อม พาร์กินสัน และกลุ่มอาการปวดต่าง ๆ
22 เม.ย 2564
เนื่องจากช่วงระยะ 6 เดือน ที่ผ่านมามีโอกาสได้พบเคสที่มีผื่นบริเวณฝ่ามือบ่อยมากขึ้นอาจจะด้วยสถานการณ์ปัจจุบันนี้ทำให้เราต้องหมั่นล้างมือกันบ่อยมากขึ้น และมีความจำเป็นต้องใช้น้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ จึงอาจเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ใครหลายๆคน “อาการกำเริบ” หรือเกิดอาการ “ผื่นแพ้ผิวหนังอักเสบ” ขึ้นได้ จึงขอกล่าวถึงโรคหนึ่งที่พบได้บ่อยในทางคลินิก และจัดเป็นหนึ่งใน 5 อันดับโรคผิวหนังที่พบบ่อย (สถาบันโรคผิวหนัง,2561)
22 เม.ย 2564
เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดหน้าที่มีฤทธิ์อ่อนโยนกับผิว ใช้แล้วไม่เกิดการระคายเคือง และควรทดสอบการแพ้ก่อนใช้ผลิตภัณฑ์ใหม่ทุกครั้ง และสิ่งที่ควรระมัดระวัง การเลือกใช้เครื่องสำอาง เพื่อลดการอุดตันสะสมจนเกิดสิว
22 เม.ย 2564
สำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคผิวหนัง ควรหลีกเลี่ยงการเกา หรือเลี่ยงสิ่งกระตุ้นที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง
21 เม.ย 2564
เป็นโรคที่พบได้บ่อย เกิดจากร่างกายตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นไวมากเกินไป มีสาเหตุมาจาก อาหาร อากาศ สภาพแวดล้อม รวมถึงแนวโน้มจากพันธุกรรม โรคภูมิแพ้แสดงอาการได้หลายทาง คือ ทางตา จมูก ผิวหนัง หลอดลม และทางเดินอาหาร
1 เม.ย 2564
ในทางการแพทย์แผนจีนนั้นอาการปวดศีรษะจัดเป็นโรคโถวท่ง “头痛” ซึ่งมีสาเหตุทั้งจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในเข้ามาเกี่ยวข้อง ปัจจัยภายนอกอาทิเช่น ลมเย็น ลมร้อน ลมชื้น