25 ก.ค. 2566
โรคหัวใจและหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของโลก แต่โรคนี้สามารถป้องกันได้โดยเริ่มต้นจากความใส่ใจในอาหาร
28 ก.พ. 2566
การเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ เสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเราและคนในครอบครัวนั้นทำให้เราเห็นว่าภูมิคุ้มกันนั้นดีอย่างไร วันนี้จึงมีเมนูดีๆมาแนะนำ
7 ก.ย. 2565
เหมาะสำหรับ ผู้ที่มีอาการในกลุ่มโรคเบาหวาน เริ่มมีระดับน้ำตาลสูง หรือ มีภาวะร้อน (คนกลุ่มร้อนชื้น กลุ่มเลือดคั่ง)
7 ก.ย. 2565
เหมาะสำหรับ ผู้ที่มีอาการปวดเมื่อยเอว ผู้สูงวัย ผู้ที่มีอาการผมร่วงหรือผมขาวก่อนวัย (คนกลุ่มอินพร่อง)
7 ก.ย. 2565
เหมาะสำหรับ ผู้ที่มีอาการอ่อนเพลีย อาการเวียนหัวจากความดันต่ำ มีปัญหาประจำเดือนมาน้อย (คนกลุ่มชี่พร่องหรือมีภาวะเลือดพร่อง)
7 ก.ย. 2565
โจ๊กลูกเดือยพุทราจีนเป็นอาหารที่ครบครันทั้งด้านการบำรุงต้านมะเร็งและขจัดเหตุอันก่อให้เกิดมะเร็ง เมนูอาหารสุขภาพที่แพทย์แผนจีนแนะนำให้ทานได้เป็นประจำ
7 ก.ย. 2565
สรรพคุณ บำรุงปอด เพิ่มความชุ่มชื้น แก้ไอ เหมาะสำหรับ ผู้ที่มีอาการไอแห้ง ร้อนในบ่อย ปากคอแห้ง นอนไม่หลับ (คนกลุ่มอินพร่อง)
5 ก.ย. 2565
เมนูโสมตุ๋นกระดูกหมูนี้แฝงไปด้วยคุณประโยชน์มากมาย ช่วยบำรุงร่างกายบำรุงหัวใจและสมอง ช่วยในการนอนหลับ เสริมภูมิต้านทานป้องกันหวัด
12 พ.ค. 2565
ชาวจีนโบราณมีคำกล่าวที่ว่า “ต้นไม้จะแห้งตายเริ่มที่ราก คนเราถ้าสูงวัยให้ดูที่ขาก่อน” ดังนั้น การมีชีวิตที่ยืนยาวและมีสุขภาพดี ควรเริ่มต้นดูแลขาและเท้าเป็นอันดับแรก
11 พ.ค. 2565
ในทางแพทย์แผนจีนอาการตะคริวนั้นมีสาเหตุมาจาก 2 สาเหตุหลักใหญ่ๆ นั่นคือ “ความเย็น” และ “เลือด”
10 พ.ค. 2565
ดวงตาของมนุษย์สามารถแสดงออกถึงอาการหลายๆอย่างที่เกิดจากตับได้ ในทฤษฏีพื้นฐานการแพทย์แผนจีนได้กล่าวไว้ว่า ตับเปิดทวารที่ตา ภาวะโรคต่างๆของตับนั้นจะแสดงออกได้ทางดวงตา
21 เม.ย 2565
เวลาทานขิงเข้าไปจะรู้สึกได้ถึงความเผ็ดร้อนจนเหงื่อซึมเลยทีเดียว ในตำรายาสมุนไพรจีน ขิง มีฤทธิ์อุ่น รสเผ็ดร้อน มีสรรพคุณขับไล่ความเย็นได้ดี ช่วยให้ปอดชุ่มชื้น ร่างกายอบอุ่น ขับเหงื่อให้ออกมาทางรูขุมขน จึงสามารถลดไข้ที่เกิดจากลมเย็นได้
19 เม.ย 2565
อวัยวะที่สำคัญในการดำรงชีวิตของเรานั่นคือ ดวงตา หากไม่ดูแลดวงตาให้ดี สายตาเรานั้นจะค่อยๆถดถอยเสื่อมลงตามอายุ โดยเฉลี่ยอายุ 40-45 ปี สายตาจะค่อยๆเสื่อมลง
8 ก.พ. 2565
แพทย์จีนตรวจวินิจฉัยโรคแบบองค์รวม โดยนำข้อมูลจากทั้งตัวผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อมต่างๆ มาร่วมพิจารณาหาสาเหตุของโรค อาศัยการซักประวัติอย่างละเอียด
26 ม.ค. 2565
อาการที่ทำให้หลายๆคนสะดุ้งตื่นกลางดึก และเกิดความเจ็บปวดอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนอาการจะทุเลาลง โดยมักจะเกิดกับกล้ามเนื้อด้านหลังต้นขา (Hamstrings) หรือ ด้านหลังของน่อง (Calf)
18 ม.ค. 2565
แพทย์แผนจีนมีวิธีการนวดกดจุดลดอาการปวดท้องประจำเดือน ซึ่งเป็นวิธีการง่ายๆสามารถทำได้เองบ่อยๆ ช่วยบรรเทาอาการปวดได้ดีทีเดียว
7 ม.ค. 2565
ผู้ป่วยที่มีความจำถดถอย เมื่อผ่านเจอเหตุการณ์ไปสักพักก็มักหลงลืมง่าย มีความสัมพันธ์กับอวัยวะในทางการแพทย์แผนจีน คือ สมอง หัวใจ ม้าม และไต ที่อ่อนแอลง สาเหตุจากชี่ เลือด และอินพร่อง เลือดคั่งจากชี่ติดขัด หรือเสมหะขุ่นรบกวนส่วนบนทำให้สมองขาดการหล่อเลี้ยงที่ดี
21 ธ.ค. 2564
เมื่อเกิดการติดเชื้อ Covid-19 เชื้อไวรัสมักบุกรุกร่างกาย ส่งผลต่อการทำงานของอวัยวะในหลายระบบ ในผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่ได้รับการรักษาและหายจากการติดเชื้อ Covid-19 แล้วนั้น ก็มักพบร่องรอยของโรคและอาการที่อาจตามมาได้ค่อนข้างหลากหลาย เช่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ หายใจลำบาก ไอ นอนไม่หลับ ความดันโลหิตสูงหรือต่ำ
26 พ.ย. 2564
โรคที่มีลักษณะใกล้เคียงกับลมพิษ กลไกการเกิดลมพิษ ชนิดฉับพลันและเรื้อรัง การรักษาลมพิษในศาสตร์แพทย์แผนจีนแพทย์จีนมีวิธีการรักษาอย่างไร ? การแยกแยะกลุ่มอาการ การเลือกใช้ตำรับยาจีน
15 ต.ค. 2564
อาการที่พบได้บ่อยที่สุดหลังจากผ่านไป 6 เดือน คือ อาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย และมีปัญหาด้านความจำ ร้อยละ 85.9 ของผู้ป่วยจะมีอาการเป็นมากขึ้นเมื่อออกกำลังกาย ทำกิจกรรม หรือเมื่อมีความเครียด และใช้เวลาในการฟื้นฟูร่างกายกลับสู่ปกตินานถึง 35 สัปดาห์
7 ต.ค. 2564
การป้องกันโรคตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนเน้นการส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงและการป้องกันการเกิดโรค ป้องกันการเปลี่ยนแปลงของโรคไม่ให้ดำเนินไปในทิศทางที่แย่ลง และป้องกันโรคไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ แพทย์แผนจีนเชื่อว่าการป้องกันโรคจำเป็นต้องเน้นการเสริมความแข็งแกร่งให้กับภูมิต้านทาน
28 ก.ย. 2564
อาการปวดศีรษะคล้ายกับมีอะไรมาบีบรัดบริเวณศีรษะ ตื้อๆ หนักๆ ปวดพอรำคาญ อาจเกิดเวลาใดก็ได้ ระยะเวลาที่มีอาการไม่แน่นอน ส่วนใหญ่มักมีอาการหลายชั่วโมง หรือตลอดทั้งวัน ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค อาการปวดจะรุนแรงขึ้นเมื่อมีความเครียด พักผ่อนไม่เพียงพอ หรือ ใช้สายตาเป็นระยะเวลานาน
28 ก.ย. 2564
พฤติกรรมในชีวิตประจำวันอาจดูเป็นความเคยชิน ซึ่งพฤติกรรมบางอย่างควรหลีกเลี่ยงถ้าอยากมีสุขภาพที่ดี ในราชวงศ์ชิงมีผู้เชี่ยวชาญด้านการหย่างเซิงชื่อ อาจารย์ Xu Wenbi เขียนบทความเกี่ยวกับ “ข้อควรระวัง 10 ข้อ” โดยเชื่อว่าการรักษาสุขภาพควรหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่เคยชิน 10 อย่างนี้
24 ก.ย. 2564
มีนักกีฬาจำนวนไม่น้อยที่หันมาพึ่งวิธีการรักษาทางด้านแพทย์แผนจีนไม่ว่าจะเป็น การฝังเข็ม ครอบแก้ว นวดทุยหนา เช่น ไมเคิลเฟลปป์ นักกีฬาว่ายน้ำโอลิมปิค เลือกใช้วิธีการครอบแก้วก่อนการแข่งขันกีฬา
23 ก.ย. 2564
ภูมิคุ้มกันโรคของเราอาจจะถดถอยลงได้ตามอายุที่เพิ่มมากขึ้น ยิ่งในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ย่อมมีความเสี่ยงในการติดเชื้อได้ง่าย โดยเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งหรือกลุ่มเสี่ยงถ้าหากติดเชื้อแล้วจะมีอาการรุนแรงได้
21 ก.ย. 2564
การฝังเข็มเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่รักษาภาวะนอนไม่หลับได้ นอกจากนี้ควรควบคู่กับการปรับพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ปรับเวลาเข้านอนและตื่นนอนให้เป็นระบบ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณพอเหมาะ และที่สำคัญคือปรับอารมณ์และจิตใจให้ผ่อนคลายร่วมด้วย
20 ก.ย. 2564
วิธีการดูลิ้นที่คนทั่วไปสามารถดูได้ด้วยตนเอง รวมถึงการนวดกดจุดและโภชนบำบัดตามสีของลิ้นและฝ้า เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพ
15 ก.ย. 2564
การดึงหลัง เป็นหนึ่งในวิธีการรักษาโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทแบบการแพทย์แผนจีนดั้งเดิม วิธีนี้เริ่มมีการใช้เพื่อการรักษา ครั้งแรกในสมัยราชวง์ชิง จากการบันทึกของตำราแพทย์แผนจีนโบราณ “อีจงจินเจี้ยน” ได้กล่าวไว้ว่า วิธีการดึงหลังแบบพานซั่วเตี้ยนจวนฝ่า “攀索叠砖法”