25 ก.พ. 2563
ไตเป็นอวัยวะทำหน้าที่เก็บกักมีหน้าที่เกี่ยวกับการจำศีล เก็บซ่อนเป็นทุน เป็นที่อยู่ของชี่
21 ก.พ. 2563
เทคนิควิธีการหย่างเซิงส่งเสริมสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนจีน มีวิธีการบำรุงเกี่ยวกับจุดต่างๆ โดยใช้วิธีนวดกดจุดบำรุงร่างกาย ซึ่งเป็นเทคนิควิธีง่ายๆ ช่วยส่งเสริมร่างกายให้แข็งแรงได้
20 ก.พ. 2563
ลิ้นมีความสัมพันธ์กับอวัยวะภายในและเส้นลมปราณต่างๆภายในร่างกายอย่างละเอียด หมอจีนสามารถประเมินลักษณะของลิ้นผู้ป่วยมาวิเคราะห์ความอ่อนแอ ความแข็งแรง สภาพอิน-หยางของอาการโรคเพื่อประกอบการรักษาโรค
18 ก.พ. 2563
หัวใจ เปรียบเหมือนกษัตริย์ ปกครองประชาชน ต้องมีสติสว่างไสว บ้านเมืองจึงสงบสุข ลักษณะสติสว่างไสวเป็นลักษณะของธาตุไฟ
12 ก.พ. 2563
ธรรมชาติและมนุษย์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ธรรมชาติมี ปี ฤดู วัน เวลา เป็นการเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกับร่างกายมนุษย์ ร่างกายของคนเรามีเส้นลมปราณหลายเส้น แต่ละเส้นมีชื่อและคุณสมบัติเฉพาะ มีจังหวะเวลาที่แน่นอน เปรียบเสมือนการอยู่เวรยาม ในเวลาที่ต่างกันของแต่ละวัน
17 ม.ค. 2563
การต้มยาด้วยหม้อต้มยาแรงดันอุตสาหกรรมและหม้อต้มยาแบบครัวเรือนแตกต่างกันอย่างไร ? ทำไมการต้มยาแต่ละครั้ง สีของน้ำยาจึงไม่เหมือนกันทั้งๆที่ตำรับยาเดียวกัน
8 ม.ค. 2563
เคล็ดลับอีกวิธีหนึ่งในการหย่างเซิงส่งเสริมสุขภาพประจำวัน สามารถทำได้โดยการอาบน้ำ และการอาบน้ำอย่างถูกวิธีจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดและระบบเมตาบอลิซึม
6 ม.ค. 2563
แนวทางการรักษาภาวะอักเสบรอบข้อไหล่ กล้ามเนื้อเอ็นบริเวณต้นคอไหล่อักเสบ เอ็นข้อศอกอักเสบ กลุ่มอาการของข้อพับมือด้วยวิธีการรักษาของแพทย์แผนจีน
26 ธ.ค. 2562
กลุ่มอาการลำไส้ไวต่อสิ่งเร้า เป็นภาวะที่ลำไส้ทำหน้าที่ผิดปกติโดยไม่มีพยาธิสภาพหรือความผิดปกติของโครงสร้างลำไส้และโรคทางกายอื่นใด ก่อให้เกิดอาการปวดท้องมีลมในท้องมาก ร่วมกับท้องเดินหรือท้องผูกแบบเรื้อรัง จัดว่าเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดของอาการท้องเดินเรื้อรัง
15 พ.ย. 2562
สารจำเป็น (精 จิง) ชี่ (气) เลือด (血 เซฺวี่ย) และของเหลวในร่างกาย (津液จินเยี่ย) มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต โดยเป็นสารประกอบพื้นฐานของร่างกายอย่างแยกกันไม่ออก หากขาดอย่างใดอย่างหนึ่งก็จะเกิดภาวะสารจำเป็นพร่อง ต้องมีการเติมเสริมกันสารจำเป็นในร่างกายจึงสมบูรณ์แข็งแรง
13 พ.ย. 2562
อาการปวดท้อง อาจไม่ได้เป็นเพียงโรคกระเพาะอย่างที่หลายๆคนเข้าใจ ในช่องท้องของคนเรานั้นมีอวัยวะต่างๆอยู่ภายใน อาการปวดท้องอาจเกิดได้จากหลายโรคหลายสาเหตุอย่าได้นิ่งนอนใจเป็นอันขาด
7 พ.ย. 2562
มีประวัติได้รับบาดเจ็บที่บริเวณเอว หรือบริเวณเอวเคยแบกรับน้ำหนักไม่เท่ากัน หรือเกิดจากการได้รับลมเย็นแล้วกระตุ้นให้เกิด โดยมากจะพบว่าเพศชายจะเป็นได้มากกว่าเพศหญิง และพบมากในวัยรุ่น โดยจะมีอาการปวดเอวร่วมกับปวดร้าวลงขา
7 พ.ย. 2562
โรคผิวหนังที่มีความเกี่ยวข้องกับพันธุกรรมชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักมีค่าโปรตีน IgE สูงผิดปกติ และคนในครอบครัวมักมีประวัติกลุ่มโรคภูมิแพ้ เช่น หอบหืด ลมพิษ ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักเป็นผื่นผิวหนังอักเสบตั้งแต่ทารกและไม่หายขาด โดยปกติแล้วในทางคลินิกจะแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ได้แก่ วัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่
30 ต.ค. 2562
นอกจากปัจจัยเกิดจากความผิดปกติของการรับแสงในดวงตาแล้ว ยังมีปัจจัยทางร่ายกายอีกด้วย เช่น หัวใจเมื่อยล้าทำลายเสิน ทำให้หยางที่หัวใจถูกบั่นทอน หยางชี่ไม่สามารถขึ้นไปหล่อเลี้ยงดวงตา เส้นลมปราณลั่วในตาถูกอุดกั้นหรือเกิดจากโรคเรื้อรัง
28 ต.ค. 2562
โรคที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวบ่อย ไม่อยู่นิ่ง สติ สมาธิสั้น หากต้องทำงานหรืออ่านหนังสืออยู่เป็นระยะเวลานานจะวอกแวกได้ง่าย จิตใจไม่นิ่ง
16 ต.ค. 2562
โรคทางด้านระบบประสาทที่มีอาการย้ำคิดย้ำท้ำเป็นอาการหลัก มักมีปัจจัยด้านจิตใจกระตุ้น สาเหตุมาจากไม่สบอารมณ์ การกระจายของชี่ติดขัด มีอาการหลักทางคลินิก คือ อารมณอัดอั้น กลัดกลุ้ม อารมณ์แปรปรวน แน่นหน้าอก ปวดแน่นชายโครง โกรธง่าย ร้องไห้ง่าย รู้สึกมีสิ่งแปลกปลอมติดคอ
15 ต.ค. 2562
โรคนี้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับตับ ม้าม และไต อวัยวะตันทั้ง 3 อย่างใกล้ชิด มีพยาธิการเกิดโรคหลัก คือ ลมปราณ สารจิง สารน้ำไม่เพียงพอ ทำให้เส้นเอ็นขาดการบำรุงเลี้ยง เป็นโรคที่ซ่อนเร้นเกิดอย่างเงียบเชียบ ยืดเยื้อยาวนาน มีพยากรณ์โรคที่ไม่ดี
11 ต.ค. 2562
อาการผิดปกติของการได้ยิน หูอื้อ คือมีเสียงดังในหู เหมือนมีเสียงซ่าๆ เสียงจักจั่นร้องดังในหู ส่วนหูตึง หูดับ คือ ความสามารถของการได้ยินลดลงหรืออยู่ดีๆความสามารถในการได้ยินกลับหายไป (หูดับแบบเฉียบพลันทันทีแบบไม่เคยเป็นมาก่อน)
12 ก.ย. 2562
การฝังเข็มหู สามารถใช้รักษาและป้องกันโรคของร่างกายและอวัยวะต่างๆได้ โดยการกระตุ้นจุดที่มีตำแหน่งแน่นอนบนใบหู ด้วยเข็ม หรือวัสดุกระตุ้นหูที่เหมาะสม
12 ก.ย. 2562
การเกิดโรคฮิสทีเรียมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทางด้านอารมณ์อย่างใกล้ชิด “โกรธเป็นอารมณ์ของตับ” การรักษาของแพทย์จีนให้ความสำคัญในการปรับสมดุลในตัวผู้ป่วยทั้งร่างกายและสภาวะจิตใจเป็นหลัก
6 ก.ย. 2562
โรคมะเร็ง จัดเป็นโรคที่ต้องอาศัยการหมั่นสังเกตและตรวจร่างกายอย่างสม่ำเสมอจึงจะสามารถค้นพบโรคได้อย่างทันท่วงทีตั้งแต่ในระยะต้นๆ การพบโรคมะเร็งตั้งแต่ในระยะต้นจะทำให้การรักษามะเร็งเป็นไปได้อย่างราบรื่นและโอกาสรักษาได้หายขาดสูงยิ่งขึ้น
5 ก.ย. 2562
ในทฤษฎีการแพทย์แผนจีน หยางทำให้ตื่น อินทำให้หลับ การนอนไม่หลับเป็นผลจากการที่หยางไม่สามารถรวมตัวกับอิน ในขณะที่อาการอ่อนเพลียอยากนอนเป็นผลจากหยางไม่สามารถแยกตัวจากอิน
27 ส.ค. 2562
หลักการวินิจฉัยโรค ตรวจ รักษาภาวะมีบุตรยากในแนวทางแผนจีน คือ ให้ความสำคัญกับโรคอื่นๆที่ส่งผลต่อภาวะมีบุตรยาก ถ้าแก้ไขได้ตรงจุด โอกาสแห่งความสำเร็จก็มีได้สูง
27 ส.ค. 2562
มีสาเหตุจากหยางไม่เข้าอยู่ในอิน ทำให้เข้านอนลำบากอยู่บ่อยครั้งถือเป็นลักษณะสำคัญของโรคนี้เข้านอนลำบาก หลับไม่ลึก หลับๆตื่นๆ ตื่นแล้วหลับต่อไม่ได้ หรือไม่หลับทั้งคืน
21 ส.ค. 2562
ฤดูฝนเป็นช่วงที่อากาศร้อนอบอ้าวและฝนตกหนัก ความชื้นเป็นน้ำจึงถือเป็นอิน ทำให้อินเพิ่มขึ้นแล้วจะไปทำลายหยาง ถ้าความชื้นเข้าสู่เส้นลมปรณและข้อ ทำให้ลมปราณติดขัด ซึ่งเป็นสาเหตุก่อโรคที่มีคุณลักษณะพิเศษและทำให้เกิดอาการต่างๆที่เฉพาะมากมาย
19 ส.ค. 2562
โรคมะเร็งทางโลหิตวิทยาที่พบได้บ่อยที่สุด ลักษณะสำคัญคือเม็ดเลือดขาวที่เพิ่มมากขึ้นอย่างผิดปกติ ตำแหน่งที่จะแสดงอาการของโรคจะอยู่ที่ไขกระดูก ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลือง และยังส่งผลกระทบไปถึงอวัยวะอื่นๆได้ด้วย
16 ส.ค. 2562
ในทางแพทย์แผนจีนจัดกลุ่มอาการนี้อยู่ในขอบเขต “กลุ่มอาการเตียน” ซึ่งเป็นโรคที่มีความผิดปกติทางระบบจิตประสาท เนื่องจากมีเสมหะอุดกั้นทวารของหัวใจ ทำให้การทำงานของเสินแปรปรวน ลักษณะพิเศษของโรค คือ จิตใจซึมเศร้า อารมณ์เฉื่อยชา เงียบขรึม ทักษะการพูดเริ่มผิดปกติ พูดจาสับสน นิ่งสงบ หรือมีการเคลื่อนไหวน้อย
16 ส.ค. 2562
เมื่อมีอายุมากขึ้น หมอนรองกระดูกสันหลังเกิดการเสื่อมสภาพ Nucleus pulposus มีส่วนประกอบของน้ำค่อยๆ ลดลง สูญเสียความยืดหยุ่น ระยะห่างระหว่างกระดูกสันหลังแคบลง ligament รอบๆ กระดูกสันหลังเกิดการหย่อน
11 ส.ค. 2562
ภาวะที่มีน้ำในช่องท้องขังสะสมมากเกินกว่าปริมาณปกติ จนทำให้ท้องขยายขนาดโตขึ้น ส่วนใหญ่ 70% เกิดจากภาวะตับแข็ง และโรคตับขั้นรุนแรง
5 ส.ค. 2562
ในตําราศาสตร์การแพทย์แผนจีนเมื่อ 2,000 ปี ได้กล่าวถึงตำแหน่งที่ตั้งของหัวใจไว้ว่าหัวใจอยู่บริเวณใจกลางช่องทรวงอก อยู่ใต้ปอด จึงทำให้เมื่อหัวใจเต้นสามารถรู้สึกได้บริเวณใต้หัวนมด้านซ้าย รูปร่างของหัวใจจะเหมือนดอกบัวตูมคล่ำหัวลง