19 ก.ย. 2567
จากมุมมองแพทย์แผนจีน จัดอยู่ในโรค กู่ปี้ หรือ ปี้เจิ้ง โรคข้อเข่าเสื่อมเกิดจากปัจจัยภายในคือตับไตพร่อง ร่วมกับ ลม ความเย็น ความชื้นซึ่งเป็นปัจจัยก่อโรคภายนอก อุดกั้นเส้นลมปราณ ชี่และเลือดไหลเวียนไม่สะดวก จึงเกิดเป็นโรคนี้ขึ้นมา
4 มี.ค. 2567
อาการที่เกิดจากการไหลย้อนกลับของกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหารขึ้นไปในหลอดอาหารส่วนบนอย่างผิดปกติ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน
29 ม.ค. 2567
อาการปวดศีรษะ เป็นอาการที่พบได้บ่อยในทุกเพศทุกวัย หากปวดศีรษะอย่างรุนแรงเป็นเวลานาน ในทางการแพทย์แผนจีน จะเรียกว่า "โถวเฟิง"
14 พ.ย. 2566
แพทย์แผนจีนเรียกว่า “肝斑” (กานปาน) “蝴蝶斑”(หูเตี๋ยปาน) เกิดจากการทำงานของตับ ม้ามและไตมีปัญหา ทำให้การไหลเวียนของชี่เลือดไม่ดี
14 พ.ย. 2566
โรคลมชัก แพทย์แผนจีนเรียกว่า “痫证” (เสียนเจิ้ง) ปัจจัยก่อโรคคือ ลม ไฟ เสมหะ หรือเลือดคั่ง ไปส่งผลทำให้หัวใจ ตับ ม้าม ไตทำงานผิดปกติส่งผลไปถึงสมอง
13 มี.ค. 2566
ถ้าหากใครที่ปัสสาวะมากกว่า 6-8 ครั้งต่อวัน โดยไมได้มีพฤติกรรมการดื่มน้ำที่มากเกินไป อาจเป็นสัญญาณเตือนถึงความผิดปกติของร่างกายหรือปัญหาสุขภาพได้
13 มี.ค. 2566
หากพูดถึงอาการปวดต่าง ๆ ทุกคนย่อมรับรู้ถึงลักษณะของอาการปวดได้เป็นอย่างดี เช่น ปวดหัว ปวดแขน ปวดขา เป็นต้น ซึ่งอาการเหล่านั้นล้วนแล้วแต่เป็นอุปสรรค
8 ก.พ. 2566
ร่างกายของคนเราจำเป็นต้องมีการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกายอยู่เสมอ เพื่อช่วยให้ระบบการทำงานต่าง ๆ ในร่างกายเกิดความสมดุลและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
23 ม.ค. 2566
โรคต่อมลูกหมากโตคือ โรคที่เกิดขึ้นในเพศชาย โดยเฉพาะชายสูงวัย ซึ่งต่อมลูกหมากที่โตจนผิดปกติจะไปรบกวนระบบทางเดินปัสสาวะ จนทำให้ปัสสาวะขัด และก่อให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะได้
23 ม.ค. 2566
อาการปวดบริเวณข้อต่าง ๆ ของร่างกาย คุณเคยสงสัยไหมว่า เป็นเพียงอาการปวดเมื่อยทั่ว ๆ ไป หรือเป็นการปวดจากการอักเสบเรื้อรังของเยื้อหุ้มข้อ
21 ธ.ค. 2565
อาการตกหมอนเป็นอาการที่หลายคนเคยพบเจอ อาการนี้มีความเกี่ยวข้องกับท่านอนที่ไม่ถูกต้อง นอนท่าเดิมเป็นเวลานานๆ หรือการเลือกใช้หมอนที่ไม่เหมาะสมกับสรีระร่างกาย
2 ธ.ค. 2565
การฝึกรำไทเก๊กเป็นวิธีหนึ่งในการดูแลสุขภาพของคนจีนที่มีมาแต่โบราณ เป็นการออกกำลังเคลื่อนไหวด้วยความสงบ ช้าและสมดุล
30 พ.ย. 2565
เป็นวิธีการดูแลฟื้นฟูสุขภาพเฉพาะทางแขนงหนึ่ง เดิมเป็นศาสตร์ชี่กงที่มีการแบ่งและเรียกขานชื่อมากมาย เป็นวิธีการรักษาดูแลสุขภาพแบบจีนโบราณ ใช้ท่วงท่าการเคลื่อนไหวร่างกาย
25 ต.ค. 2565
อาการปวดท้องประจำเดือนเป็นปัญหาของผู้หญิงที่พบบ่อย โดยบางรายอาจปวดประจำเดือนเบาๆ แต่บางรายอาจมีอาการปวดประจำเดือนค่อนข้างรุนแรง
21 ก.ค. 2565
อาการหูมีเสียงคือการที่ผู้ป่วยได้ยินเสียงรบกวนอาจจะได้ยินเสียงสูง หรือ เสียงลม โดยเสียงที่ได้ยินไม่ใช่เสียงที่มาจากภายนอก
20 ก.ค. 2565
สารที่หล่อเลี้ยงดวงตาได้แก่เลือด ชี่ และ สารจิง จะถูกนำไปหล่อเลี้ยงดวงตาโดยผ่านทางเส้นลมปราณการใช้สมองและสายตาเป็นเวลานานจะส่งผลให้ต่อเสินของหัวใจถูกทำลาย และทำลายชี่และเลือด ทำให้สารสำคัญต่างไปเลี้ยงดวงตาไม่พอเกิดอาการตาแห้ง
20 มิ.ย. 2565
ในมุมมองของศาสตร์การแพทย์แผนจีนการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะทำให้ม้ามและกระเพาะอาหารถูกทำลาย ทำให้เกิดอาหารตกค้าง มีความชื้นเสมหะ
9 มิ.ย. 2565
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 มีหน้าที่ส่งสัญญาณสู่กล้ามเนื้อ lateral rectus ซึ่งมีหน้าที่กลอกตาออกด้านนอก หากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 มีความผิดปกติ จะทําให้ผู้ป่วยไม่สามารถกลอกตาออกด้านนอกได้
1 มิ.ย. 2565
จุดฝังเข็มทั่วร่างกาย มี 700 กว่าจุด แต่นิยมใช้กันมีประมาณ 300 กว่าจุด การใช้จุดฝังเข็มมารักษาโรคต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับอวัยวะภายในระบบเส้นลมปราณ
1 มิ.ย. 2565
การได้นอนหลับวันละหลายๆชั่วโมง จะทำให้ร่างกายได้พักผ่อนนานขึ้น แต่ในทางการแพทย์แล้ว การนอนหลับมากเกินไป กลับส่งผลเสียต่อร่างกายมากกว่าผลดี เช่น น้ำหนักขึ้นง่าย หงุดหงิดง่าย วิตกกังวล ความคิดช้า มึนงง รอบเดือนผิดปกติ และอาจมีอาการซึมเศร้า และเสี่ยงต่อการหยุดหายใจแบบเฉียบพลัน ดังนั้นทางการแพทย์จึงจัด โรคนอนหลับมากเกินไปเป็นโรคผิดปกติทางการนอนอย่างหนึ่ง
19 เม.ย 2565
พบได้ตั้งแต่วัยรุ่นจนถึงวัยก่อนหมดประจำเดือน การที่ประจำเดือนมาช้าอาจส่งผลเสียกับผู้หญิงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ อีกทั้งยังเพิ่มความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดภาวะมีบุตรยากอีกด้วย
25 มี.ค. 2565
เมื่อการไหลเวียนของเส้นลมปราณนี้เริ่มตั้งแต่หัวจรดเท้า ไหลเวียนไม่ดี มีการอุดตันจะส่งผลให้เกิดความผิดปกติในร่างกาย เช่น ปวดหัวไมเกรน ร้าวถึงเบ้าตา หูอื้อ มีเสียงในหู ปวดตึง คอบ่าไหล่ นอนหลับยาก ตื่นบ่อย ใจสั่น ตกใจง่าย จุกเสียดชายโครง
24 มี.ค. 2565
กลไกการเกิดโรค คือ เสินหัวใจขาดการหล่อเลี้ยง หรือ ถูกรบกวน จิตใจไม่สงบ การทำงานของเส้นลมปราณอินเฉียวม่าย หยางเฉียวม่ายขาดสมดุล หยางแกร่ง อินพร่อง อินหยางขาดสมดุล หยางไม่เข้าสู่อิน
24 มี.ค. 2565
ภัยเงียบ ที่มีการดำเนินของโรคใช้เวลานับสิบๆปี อาจไม่มีอาการเจ็บป่วยหรืออาการอื่นใด จนวันหนึ่งกระดูกเกิดร้าวหรือหักขึ้นมาเพียงแค่ได้รับความกระเทือนเพียงเล็กน้อยเช่น การไอ การจาม หรือแค่ยกของเบาๆ
17 มี.ค. 2565
เด็กมีปัญหาด้านการเจริญเติบโต มีความเกี่ยวข้องกับปัจจัยพฤิกรรมชีวิตไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง การฝังเข็ม เป็นอีกวิธีการปรับสมดุลของอวัยวะภายในที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเด็ก ไม่ว่าจะเป็น ตับ ม้าม ไต เพื่อให้อวัยวะเหล่านี้ทำงานได้อย่างเป็นปกติ บำรุงเลือด บำรุงชี่ รวมถึงสมดุลอินหยางในร่างกาย
17 มี.ค. 2565
อาการปวดตึงบริเวณข้อมือฝั่งนิ้วหัวแม่มือ หากต้องเขียนหนังสือ ขับรถ เปิดขวดน้ำ ปลอกเปลือกผลไม้ จะรู้สึกเจ็บมากจนมีผลกับการใช้ชีวิตประจำวัน
11 มี.ค. 2565
การรักษาในปัจจุบัน มีทั้งพฤติกรรมบำบัด การใช้ยา การผ่าตัดเพื่อใส่เครื่องกระตุ้นสมองส่วนลึก ในระยะเริ่มต้นสามารถนำศาสตร์การแพทย์แผนจีนเข้ามาร่วมรักษา ได้แก่ การฝังเข็ม ยาสมุนไพรจีนเพื่อลดความเครียด ความกังวลของเด็ก ลดอาการกระตุกเกร็งของกล้ามเนื้อ ถือเป็นอีกหนึ่งวิธีรักษาที่ได้ผลดี
25 ก.พ. 2565
รักษาด้วยการฝังเข็ม โดยใช้หลักการรักษา ระบายไฟตับ กระตุ้นการไหลเวียนเลือด ขับพิษ ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดปลายประสาทหลังจากผื่นงูสวัดหายแล้ว และอาจมีอาการกำเริบช่วงที่อากาศเปลี่ยนแปลง
26 ม.ค. 2565
อาการที่ทำให้หลายๆคนสะดุ้งตื่นกลางดึก และเกิดความเจ็บปวดอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนอาการจะทุเลาลง โดยมักจะเกิดกับกล้ามเนื้อด้านหลังต้นขา (Hamstrings) หรือ ด้านหลังของน่อง (Calf)
12 ม.ค. 2565
ปัจจัยภายใน มักเกิดจากภาวะทางอารมณ์ที่ฉุนเฉียวโมโห ตกใจกลัว ลมและไฟของตับและถุงน้ำดีรุกรานเบื้องบน หรืออาจเกิดจากเลือดคั่ง เสมหะอุดกั้นทวารหูทำให้ชี่ของเส้นลมปราณเส้าหยางอุดกั้น หรือ ชี่และเลือดพร่อง ไม่สามารถหล่อเลี้ยงทวารหูจึงเกิดอาการหูดับเฉียบพลัน