1 ก.ค. 2565
โดยอาการมีตั้งแต่อาการเล็กน้อยเช่น เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย หากกระทบการทำงานของสมองก็อาจทำให้วูบ หมดสติ ไปจนถึงอาการที่ส่งผลต่อการทำงานของหัวใจ
28 มิ.ย. 2565
จากการวินิจฉัยทางแพทย์แผนจีน โดยเริ่มจากการวิเคราะห์สีหน้าคนไข้ สีหน้าไม่ซีดแต่แดงคล้ำเล็กน้อย ลิ้นมีลักษณะฝ้าเหลืองหนา ชีพจรลื่นและแรง
20 มิ.ย. 2565
ชี่พร่อง气虚 เกิดจากการทำงานของอวัยวะภายในน้อยลง ในชีวิตประจำวันเรามักพบอาการแบบนี้ค่อนข้างบ่อย พูดเสียงเบา ไม่อยากพูด เหนื่อยง่าย
9 มิ.ย. 2565
ภาวะมีบุตรยากในทางแพทย์แผนจีน ได้แบ่งสาเหตุออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ ไตอินพร่อง เลือดคั่งจากชี่ติดขัดและความร้อนชื้นอุดกั้น
9 มิ.ย. 2565
ผู้ติดเชื้อโควิดจำนวนไม่น้อยที่ต้องเผชิญกับภาวะอาการ Long Covid โดยอาการส่วนใหญ่ที่เราคุ้นเคยรู้จักกันดีอยู่แล้วเช่น ไอเรื้อรัง เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามตัว หายใจไม่อิ่ม ท้องอืดแน่น เป็นต้น แต่ในครั้งนี้ที่จะนำเสนอเคสตัวอย่างเป็นผู้ป่วยหลังจากที่หายจากโควิดแล้ว กลับมีอาการปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะบ่อย ซึ่งเป็นภาวะ Long Covid ที่เจอได้น้อยแต่ได้ผลดีในการรักษาแบบแพทย์แผนจีน
1 มิ.ย. 2565
โรคไขกระดูกเสื่อม (Myelodysplastic Syndromes ,MDS) เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในไขกระดูกที่ทำหน้าที่สร้างเม็ดเลือด
24 พ.ค. 2565
ยาสมุนไพรจีนที่นิยมนำมาใช้ในการดูแลร่างกาย โดยขอเน้นไปที่การดูแลระบบทางเดินอาหารโดยตรง ฝูหลิง,ไป๋จู๋,ปั้นเซี่ย,ต้าจ่าว ,อี้อี่เหริน
24 พ.ค. 2565
เหตุผลของคน “ท้องอืด”ในแบบของแพทย์แผนจีนมีกลไกล 4 ประเภทที่ทำให้เกิดโรค 1. ความร้อนสะสม 2.เสมหะชื้น 3.ชี่ตับอุดกั้น 4.กระเพาะม้ามอ่อนแอ
24 พ.ค. 2565
“ท้องอืด” บ้างครั้งเกิดจากการที่เรารับประทานอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่สะอาดหรือรสจัดเกินไป ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน แต่ก็สามารถกลับมาเป็นปกติได้
12 พ.ค. 2565
ชาวจีนโบราณมีคำกล่าวที่ว่า “ต้นไม้จะแห้งตายเริ่มที่ราก คนเราถ้าสูงวัยให้ดูที่ขาก่อน” ดังนั้น การมีชีวิตที่ยืนยาวและมีสุขภาพดี ควรเริ่มต้นดูแลขาและเท้าเป็นอันดับแรก
11 พ.ค. 2565
ในทางแพทย์แผนจีนอาการตะคริวนั้นมีสาเหตุมาจาก 2 สาเหตุหลักใหญ่ๆ นั่นคือ “ความเย็น” และ “เลือด”
10 พ.ค. 2565
ดวงตาของมนุษย์สามารถแสดงออกถึงอาการหลายๆอย่างที่เกิดจากตับได้ ในทฤษฏีพื้นฐานการแพทย์แผนจีนได้กล่าวไว้ว่า ตับเปิดทวารที่ตา ภาวะโรคต่างๆของตับนั้นจะแสดงออกได้ทางดวงตา
5 เม.ย 2565
อาการปวดศีรษะช่วงมีประจำเดือนสัมพันธ์กับอวัยวะตับ เนื่องด้วยเส้นลมปราณตับส่วนหนึ่งมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันกับศีรษะ อีกทั้งตับเป็นอวัยวะที่มีหน้าที่กักเก็บเลือด หากเลือดพร่องหรือเลือดคั่ง เลือดไหลเวียนติดขัด ทำให้เลือดไปหล่อเลี้ยงศีรษะไม่เพียงพอ ส่งผลให้เกิดอาการปวดศีรษะได้
1 เม.ย 2565
ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็น Long Covid จะมีอาการควบคุมน้ำตาลได้ยาก มีภาวะกล้ามเนื้อลีบ สารอาหารในร่างกายไม่เพียงพอ อ่อนเพลีย หายใจลำบาก และการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
24 มี.ค. 2565
กลไกการเกิดโรค คือ เสินหัวใจขาดการหล่อเลี้ยง หรือ ถูกรบกวน จิตใจไม่สงบ การทำงานของเส้นลมปราณอินเฉียวม่าย หยางเฉียวม่ายขาดสมดุล หยางแกร่ง อินพร่อง อินหยางขาดสมดุล หยางไม่เข้าสู่อิน
8 ก.พ. 2565
แพทย์จีนตรวจวินิจฉัยโรคแบบองค์รวม โดยนำข้อมูลจากทั้งตัวผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อมต่างๆ มาร่วมพิจารณาหาสาเหตุของโรค อาศัยการซักประวัติอย่างละเอียด
29 ก.ย. 2564
กลไกการเกิดโรคเกิดจาก "อินพร่องสารน้ำถูกทำลาย" ความร้อนประทุขึ้นมาทำลายร่างกาย โดยอินพร่องเป็นกลไกหลัก ความร้อนประทุขึ้นเป็นกลไกรอง อวัยวะสำคัญที่เกี่ยวข้องกับโรคนี้คือ ปอด กระเพาะอาหาร และไต สามอวัยวะนี้แม้จะมีอาการที่แตกต่างกัน แต่ก็มีผลกระทบซึ่งกันและกัน
9 ก.ย. 2564
ภาวะร่างกายที่ไม่แข็งแรงแต่กำเนิด เจ็บป่วยนานเรื้อรัง นอนดึก ความเครียด พักผ่อนน้อย เลือกรับประทานอาหารไม่มีประโยชน์ ร่างกายทรุดโทรม หรือมีการติดเชื้อ สาเหตุเหล่านี้ทำให้ชี่เลือดอินหยางในร่างกายขาดสมดุล หัวใจทำงานได้ไม่มีประสิทธิภาพ หลอดเลือดเกิดการอุดตัน เกิดความชื้นเลือดคั่งอุดกั้นภายใน จนส่งผลทำให้ผู้ป่วยมีอาการแสดงต่างๆ
1 ก.ย. 2564
เป็นโรคที่เกิดได้จากหลายสาเหตุมีการทำลายเนื้อเยื่อของไต หรือการทำงานของไตลดลงเป็นระยะเวลานาน จนทำให้ไตสูญเสียหน้าที่การทำงานไป ในระยะสุดท้ายต้องรักษาด้วยการฟอกไต
6 ส.ค. 2564
ถึงแม้จะมีสรรพคุณในการรักษาโรคไข้หวัดได้จริง โดยเฉพาะโรคไข้หวัดใหญ่ ซึ่งเกิดขึ้นในกลุ่มอาการปอดร้อนเป็นหลัก แต่ยังไม่สามารถรองรับการรักษาผู้ป่วยไข้หวัดจากเชื้อไวรัสโควิดได้อย่างร้อยเปอร์เซ็นต์ อีกทั้งตัวยาจีนภายในสูตรยาดังกล่าว มีตัวยาจีนประกอบอยู่หลายชนิดที่ต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์จีนในการใช้งาน เพราะมีความอันตรายสูงและอาจส่งผลเสียต่อร่างกายได้
21 มิ.ย. 2564
คนไทยชอบมากกับการดื่มน้ำเย็น ทั้งในหน้าร้อน หรือหน้าหนาว จะเป็นกลางวันหรือกลางคืน ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบน้ำเปล่า น้ำอัดลม ไอศครีม เบียร์เย็น ที่สำคัญชอบเพิ่มน้ำแข็งทำให้เย็นเร็วขึ้น น้ำเย็นเป็นอันตรายต่อร่างกายหรือไม่ ถ้าเรารู้ว่าน้ำเย็นจัดๆมีผลเสียกับร่างกาย สังเกตได้จากคนประเทศจีน หรือคนจีนในไทยอายุมากจะชอบดื่มน้ำอุ่นมากกว่าน้ำเย็น เพราะอะไรไปหาคำตอบกันครับ
4 มิ.ย. 2564
เส้นผมดกดำก็มาจากพลังของไต เพศสัมพันธ์ที่มากเกินทำให้พลังไตถูกปลดปล่อยออกมามากเกินไป ทานอาหารที่รสจัดบ่อยครั้งก็จะทำให้พลังไตลดลงได้เหมือนกัน
2 มิ.ย. 2564
บ่อยในเพศชายวัยกลางคน ทั้งโรคต่อมลูกหมากอักเสบ โรคต่อมลูกหมากโต โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับต่อมลูกหมากทำให้เกิดความผิดปกติในการขับปัสสาวะ
1 เม.ย 2564
ในทางการแพทย์แผนจีนนั้นอาการปวดศีรษะจัดเป็นโรคโถวท่ง “头痛” ซึ่งมีสาเหตุทั้งจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในเข้ามาเกี่ยวข้อง ปัจจัยภายนอกอาทิเช่น ลมเย็น ลมร้อน ลมชื้น
23 ก.พ. 2564
คนเป็นโรคไตกินยาจีนได้ไหม และถ้าไม่อยากเป็นโรคไต เริ่มต้นได้ด้วยหลักหย่างเซิงสุขภาพและวิธีการเลือกกิน กินถังเช่าเป็นประจำ จะทำให้เป็นโรคไตจริงหรือไม่ ?
28 ก.ย. 2563
อุจจาระแข็ง ถ่ายออกยาก ต้องใช้เวลาในการขับถ่ายอุจจาระนาน หรือแม้จะใช้เวลาไม่นานหากขับถ่ายยากก็นับเป็นอาการท้องผูกด้วย กลไกของโรคทางแพทย์แผนจีนเกี่ยวข้องกับภาวะร้อนคั่งในกระเพาะอาหารและลำไส้ หรือมีภาวะหยางพร่อง
18 ก.ย. 2563
ในผู้ป่วยมะเร็งนั้นผลข้างเคียงจากการฉายรังสีรักษาบริเวณช่องปากและลำคอที่มักพบอยู่เป็นประจำคือภาวะปากแห้งและกลืนลำบาก การฉายแสงในบริเวณดังกล่าวส่งผลกระทบต่อต่อมน้ำลาย ท่อน้ำลาย เส้นประสาท เส้นเลือด เนื้อเยื่อและท่อทางเดินน้ำเหลืองต่างๆบริเวณนั้น ทำให้เกิดความผิดปกติในการผลิตน้ำลายขึ้น
5 ส.ค. 2563
ดังคำกล่าวโบราณในคัมภีร์เน่ยจิงที่ว่า “แพทย์ที่ดีจะต้องรักษาก่อนที่จะเจ็บป่วย (上工治未病) ” นั่นหมายรวมถึงการป้องกันก่อนที่จะเกิดโรค เมื่อเป็นโรคแล้วก็ต้องป้องกันไม่ให้เปลี่ยนหรือพัฒนาโรคให้เป็นหนัก และเมื่อโรคเปลี่ยนไปแล้วก็ต้องป้องกันไม่ให้พัฒนาต่อ ส่วนในการรักษาด้วยการแพทย์แผนจีนนั้น มีจุดเด่นคือต้องทำการตรวจวินิจฉัยผู้ป่วยแต่ละคน แล้วให้ยารักษาเฉพาะบุคคล 1 คน ต่อ 1 ตำรับ เนื่องจากสภาพร่างกายแต่ละคนไม่เหมือนกัน
21 ก.ค. 2563
การรักษาด้วยวิธีแพทย์แผนจีนสามารถรักษาได้ตั้งแต่ทารกรวมไปถึงในเด็กเล็ก ซึ่งในกาารรักษาจะผสมผสานตั้งแต่เริ่มต้นตรวจวินิจฉัย การใช้ยาจีนในเด็กทั้งแบบยารับประทานและยาใช้ภาพยนอก รวมไปถึงการฝังเข็มและการนวดทุยหนาในเด็ก
22 มิ.ย. 2563
การตรวจวินิจฉัยเพื่อประเมินวิธีการรักษาที่เหมาะสม เช่น การใช้ตำรับยาจีนเฉพาะกลุ่ม ร่วมกับหัตถการรักษาเสริมอื่นๆ เช่น การฝังเข็ม การรมยา การหย่างเซิง เพื่อปรับสมดุลชีวิต พัฒนาสุขภาพ จะทำให้การรักษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น