บทความคลินิกฟื้นฟูอัมพฤกษ์อัมพาตและโรคทางระบบประสาท

ในการแพทย์แผนจีนโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์จะสามารถจัดอยู่ในกลุ่มโรค “尪痹 Wang bi”หรือ “顽痹 Wan bi” “历节风 Li Jie Feng” ซึ่งจัดเป็นโรคปวดข้อที่รักษาได้ยาก

โรคตาในผู้สูงอายุ จะสัมพันธ์กับอายุที่เพิ่มขึ้นและการเสื่อมถอยของร่างกาย โรคของตาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ เช่น ต้อกระจก ต้อหิน โรคของจอประสาทตา เป็นต้น

เต๋าอิ่นสามารถช่วยฟื้นฟูกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาการเคลื่อนไหวต่างๆ อัมพฤกษ์อัมพาต กล้ามเนื้อตึงเกร็งหรือกล้ามเนื้ออ่อนแรง พาร์กินสัน

อัมพฤกษ์ อัมพาต หรือโรคหลอดเลือดสมอง คือ ภาวะที่สมองได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพออย่างเฉียบพลัน เนื่องมาจากหลอดเลือดตีบ อุดตันหรือแตก

สูตรอาหารแนะนำเพื่อป้องกันและปรับสมดุลสำหรับผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง รวมถึงสรรพคุณทางการแพทย์จีน ข้อบ่งใช้ ข้อควรระวังของอาหารที่เป็นส่วนประกอบ

สูตรอาหารแนะนำเพื่อป้องกันและปรับสมดุลสำหรับผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง รวมถึงสรรพคุณทางการแพทย์จีน ข้อบ่งใช้ ข้อควรระวังของอาหารที่เป็นส่วนประกอบ

สูตรอาหารแนะนำเพื่อป้องกันและปรับสมดุลสำหรับผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง รวมถึงสรรพคุณทางการแพทย์จีน ข้อบ่งใช้ ข้อควรระวังของอาหารที่เป็นส่วนประกอบ

ภาวะความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง การมีไขมันในเลือดสูง ภาวะอ้วน ถือเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง

การทรงตัวเป็นความสามารถของร่างกายในการควบคุมและรักษาศูนย์ถ่วงของร่างกายให้สมดุล ทั้งขณะเคลื่อนไหว เช่น การเดิน การขึ้นลงบันได

โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease : 帕金森病) คือ โรคที่เกิดจากความเสื่อมของเซลล์ประสาทบริเวณก้านสมอง ส่งผลให้การผลิตสารบางอย่างหรือ โดพามีน

พาร์กินสัน (Parkinson's disease) เกิดจากความเสื่อมของเซลล์ประสาทบริเวณก้านสมอง ทำให้การผลิตสารที่ชื่อว่า “โดพามีน” ลดลง ส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว

ก่อนการทำการฝึก เราสามารถเริ่มฝึกการกำหนดลมหายใจ ได้ด้วยวิธีการยืนตรงขาสองข้างชิดกัน ปลายเท้าหันออกด้านหน้า ผู้ชายใช้มือซ้ายวางตำแหน่งใต้สะดือและมือขวาวางทับ

การฝึกเต๋าอิ่นเป็นการฝึกการเคลื่อนไหวร่างกาย ร่วมกับควบคุมลมหายใจ หรือการฝึกเน่ยกง ทำให้สามารถเคลื่อนไหวชี่เพื่อบำรุงอวัยวะภายใน ทางการแพทย์แผนจีนเชื่อว่า ถ้าชี่สามารถไหลเวียนได้อย่างสะดวกคล่องแคล่วจะทำให้สุขภาพดี

ความปวด เป็นอาการของความไม่สุขสบายทั้งร่างกาย ความรู้สึกและอารมณ์ แต่ละบุคคลจะมีความแตกต่างกันออกไป

ภาวะสมองพิการ Cerebral palsy : CP ภาษาจีนเรียก 小儿脑瘫 คือ ความผิดปกติของระบบประสาทและสมองในทารกแรกเกิดหรือเด็กเล็ก ซึ่งสาเหตุสำคัญเกิดจากสมองที่กำลังพัฒนาดำเนินได้อย่างไม่สมบูรณ์

เป็นวิธีการดูแลฟื้นฟูสุขภาพเฉพาะทางแขนงหนึ่ง เดิมเป็นศาสตร์ชี่กงที่มีการแบ่งและเรียกขานชื่อมากมาย เป็นวิธีการรักษาดูแลสุขภาพแบบจีนโบราณ ใช้ท่วงท่าการเคลื่อนไหวร่างกาย

หมอจีนป้องกันรักษาโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) หรือ จ้งเฟิง ตั้งแต่ยังไม่ป่วยได้อย่างไร ? รีบรักษาแต่เนิ่นๆ ดับไฟเสียแต่ต้นลม เมื่อป่วยแล้วจะต้องป้องกันไม่ให้โรคพัฒนาเป็นหนักขึ้นอย่างไร ? รวมไปถึงระยะพักฟื้น หรือ ระยะฟื้นตัวหลังการเจ็บป่วย ป้องกันไม่ให้กลับมาป่วยซ้ำอีก 

กลุ่มโรคและภาวะอาการของโรคหลอดเลือดสมอง (สมองขาดเลือด) รวมไปถึงโรคที่ตามมาหลังจากเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งสามารถรักษาด้วยวิธีการฝังเข็มร่วมกับหัตถการเสริมการรักษาอื่นๆร่วมด้วย เช่น การรมยา เข็มอุ่น กระตุ้นไฟฟ้า ครอบแก้ว ฯลฯ รวมไปถึงการรักษาเสริมในภาคยาจีนทั้งในระยะเฉียบพลัน รวมไปถึงการใช้ยาจีนรักษาโรคหลอดเลือดสมอง (ก้านสมองตาย) ในระยะฟื้นตัว

กลุ่มอาการที่เกิดจากโครงสร้างสมองถูกทำลายแบบเรื้อรังหรือแบบต่อเนื่องทำให้หน้าที่การทำงานของสมองระดับสูงผิดปกติไป

อาการอ่อนล้าของกล้ามเนื้อบางส่วนหรือทั้งร่างกาย แขนขาไม่มีแรง แขนมักเป็นหนักกว่าขา ส่งผลต่อกล้ามเนื้อในการหายใจ อ่อนเพลียไม่มีแรง เดินเคลื่อนไหวลำบาก

โรคที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วฉับพลัน หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองตีบ อุดตัน หรือแตก เลือดไปหล่อเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ เซลล์สมองได้รับความเสียหายและสูญเสียการทำงาน

การช่วยฟื้นฟูพัฒนาสมรรถภาพของผู้ป่วยให้ช่วยเหลือตนเองได้เต็มที่ตามความสามารถที่เหลืออยู่ ภายหลังการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและกลับคืนสู่สภาวะปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุด ทั้งด้านร่างกายจิตใจและสังคม

เป็นการฝังเข็มที่ตำแหน่งพิเศษของเขตกระตุ้นบนศีรษะ เป็นอีกหนึ่งวิธีของการฝังเข็มเพื่อใช้รักษาโรคได้หลายชนิด โดยเฉพาะโรคทางสมอง

แนวคิด “ปลุกสมองเปิดทวาร (醒脑开窍)” มีมุมมองว่า โรคหลอดเลือดสมอง(Stroke)หรือจ้งเฟิง เป็นโรคที่มีอาการหนัก มีอาการแสดงหลายอย่าง ระยะเวลาของโรคนาน ตำแหน่งของโรคอยู่ลึก การรักษาจึงต้องแก้ที่สาเหตุพื้นฐาน คือตับและไตพร่อง โดยมุ่งเน้นการหล่อเลี้ยงเสริมบำรุงตับและไตเป็นหลัก

การฝังเข็มรักษาโรคหลอดเลือดสมองแบบดั้งเดิม แพทย์จีนจะอาศัยการเลือกจุดฝังเข็มและเทคนิคการกระตุ้นเข็มตามสาเหตุและการวิเคราะห์แยกกลุ่มอาการโรคตามทฤษฎีการแพทย์แผนจีน เนื่องจากเป็นโรคที่มีความหลากหลายทั้งอาการ ความรุนแรง การดำเนินของโรคและภาวะแทรกซ้อน ซึ่งขึ้นอยู่กับสาเหตุของโรคและสภาพพื้นฐานของผู้ป่วยแต่ละราย

ลักษณะพิเศษของโรคจ้งเฟิง คือ เกิดอาการฉับพลันชัดเจน จากหลายสาเหตุ เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว มีลักษณะคล้ายกับลมในธรรมชาติ ซึ่งเคลื่อนไหวเร็วและเปลี่ยนแปลงง่าย คำว่า 中แปลว่า ถูกกระทำ และ 风แปลว่า ลม จ้งเฟิง โดยรูปศัพท์จึงหมายถึง โรคที่ถูกกระทำโดยลม โรคจ้งเฟิงจัดเป็นปัญหาสุขภาพอันดับต้น ๆ ของการแพทย์จีน และยังเป็นโรคที่ได้ชื่อว่า “สามสูงในหนึ่งเดียว (三高一多)” คือ เป็นโรคที่มี อัตราการเกิดโรคสูง อัตราตายสูง และอัตราพิการสูง

โรคหลอดเลือดสมอง เรียกในการแพทย์แผนจีนว่า “จ้งเฟิง” (中风 ZhongFeng) ในหมู่ชาวตะวันตกมักเรียกกันติดปากว่า “stroke” ในทางการแพทย์ แต่เดิมเรียกว่า “อุบัติเหตุหลอดเลือดสมอง (cerebrovascular accident หรือ CVA” แต่ปัจจุบัน เรียกใหม่ว่า “โรคหลอดเลือดสมองcerebrovascular disease หรือ CVD” ซึ่งเป็นโรคที่คนไทยเรียกกันติดปากโดยทั่วไปว่า “อัมพาต หรือ อัมพฤกษ์”

เป็นภาวะฉุกเฉิน  มีลักษณะสูญเสียความรู้สึกทันที  หรือ อัมพาตครึ่งชีก  พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว หนังตาตก  พยาธิสภาพมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วคล้าย “ลม” โดยก่อนมีอาการของโรค ผู้ป่วยมักมีอาการนำคือ เวียนศีรษะและชาแขนขา อ่อนเพลีย จิตใจกระสับกระส่าย

การฝังเข็มทำให้หลอดเลือดขยายตัว เลือดไหลเวียนเข้าสู่หลอดเลือดที่ไปหล่อเลี้ยงอวัยวะต่างๆมากขึ้น ทั้งสมอง หัวใจ และแขนขา เพราะมีการศึกษาพบว่า การฝังเข็มจะไปลดการส่งกระแสประสาทซิมพาเทติกที่มีปมประสาทวางเรียงอยู่สองข้างของแนวไขสันหลัง ตั้งแต่บริเวณช่วงคอถึงเอว

การฝังเข็มเป็นวิธีการรักษาโรค ฟื้นฟูสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยการใช้เข็มปักตามตำแหน่งจุดเฉพาะต่าง ๆ ของร่างกาย มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับสมดุลร่างกาย ช่วยปรับให้อวัยวะและระบบการทำงานต่าง ๆ ของร่างกายกลับทำงานได้เป็นปกติ

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้