10 พ.ย. 2566
ตา คือส่วนรับแสงสะท้อนของร่างกายทำให้สามารถมองเห็นและรับรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวได้ เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งสำหรับมนุษย์ และถือเป็น “สมบัติของร่างกายมนุษย์”
6 พ.ย. 2566
ปัจจุบันโรคยอดฮิตของผู้ใช้สมาร์ทโฟนนอกจากอาการออฟฟิศซินโดรมที่ทำให้ปวดคอ บ่า ไหล่แล้ว ก็ยังพบโรคทางข้อมือที่เข้ามาทำให้ปวดกาย รำคาญใจ
10 ต.ค. 2566
เรามักจะได้ยินคำว่าโกรธปี๊ดจนเลือดขึ้นหน้า ขี้โมโหโกรธจนหน้าแดง หรือโกรธจนปวดตับกันมาบ่อยๆ แล้วเราทราบมั้ยคะว่าอารมณ์โกรธเกิดจากสาเหตุใด
4 ต.ค. 2566
อาการท้องผูกเป็นอาการที่พบได้บ่อยในทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ เป็นอาการที่พบมากถึง 25-30% เมื่อเทียบกับอาการอื่นๆ เมื่ออายุมากขึ้นลำไส้มักจะเริ่มทำงานผิดปกติ ไม่สามารถขับถ่ายได้ต่อเนื่องทุกวัน
2 ต.ค. 2566
เท้าแบน (Flat Feet) คือ ลักษณะของเท้าที่ไม่มีส่วนโค้งเว้าตรงกลางฝ่าเท้า เมื่อลุกขึ้นยืนฝ่าเท้าจะราบแนบไปกับพื้นทั้งหมด
29 ก.ย. 2566
โรคกระดูกต้นคอเสื่อมชนิดกดทับรากประสาท (Cervical spondylotic radiculopathy) เป็นโรคที่อาการชามือเกิดจากรากประสาทบริเวณกระดูกสันหลังส่วนคอถูกกระตุ้น บริเวณที่ชาจะไม่ได้อยู่แค่บริเวณนิ้วมือ แต่จะมีอาการปวด ชาบริเวณคอและแขนร่วมด้วย
29 ก.ย. 2566
กลุ่มอาการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ เป็นหนึ่งในอาการที่พบได้บ่อยทางคลินิก เป็นโรคที่เกิดจากเส้นประสาทมีเดียนที่อยู่ภายในโพรงข้อมือ
21 ก.ค. 2566
อาการปวดศีรษะเป็นอาการที่ใครหลาย ๆ คนล้วนมีประสบการณ์ แต่หากมีอาการปวดขมับ ปวดกระบอกตา คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าเป็นปวดศีรษะไมเกรน
23 ม.ค. 2566
เคยสังเกตตัวเองไหมว่าในแต่ละวันคุณใช้เวลากับการนั่งไปแล้วกี่ชั่วโมง? ไม่ว่าจะนั่งทำงาน WORK FROM HOME หรือ WORK FROM OFFICE นั่งขับรถนานระยะทางไกลๆ
21 ธ.ค. 2565
อาการท้องผูก หมายถึง ภาวะที่มีความถี่ในการถ่ายอุจจาระน้อยกว่าปกติ เช่น จำนวนการขับถ่ายใน 1 สัปดาห์ น้อยกว่า 3 ครั้ง โดยอุจจาระจะมีลักษณะแห้ง แข็ง หรือมีอาการถ่ายลำบาก
2 ธ.ค. 2565
การฝึกรำไทเก๊กเป็นวิธีหนึ่งในการดูแลสุขภาพของคนจีนที่มีมาแต่โบราณ เป็นการออกกำลังเคลื่อนไหวด้วยความสงบ ช้าและสมดุล
30 พ.ย. 2565
เป็นวิธีการดูแลฟื้นฟูสุขภาพเฉพาะทางแขนงหนึ่ง เดิมเป็นศาสตร์ชี่กงที่มีการแบ่งและเรียกขานชื่อมากมาย เป็นวิธีการรักษาดูแลสุขภาพแบบจีนโบราณ ใช้ท่วงท่าการเคลื่อนไหวร่างกาย
11 พ.ย. 2565
4 วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอาการปวดเอวร้าวลงขา
10 พ.ย. 2565
“ปาต้วนจิ่น” เป็นชี่กงประเภทหนึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างการหายใจ และกระบวนท่าต่าง ๆ เกิดเป็นกระบวนท่ามีทั้งหมด 8 ท่า
8 พ.ย. 2565
ในปัจจุบันคนทั่วไปมีการอาการปวดต้นคอเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มวัยทำงาน เป็นๆ หายๆ รักษาแล้วก็กลับมาเป็นอีก
8 พ.ย. 2565
ข้อไหล่อักเสบ เป็นภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหัวไหล่และเนื้อเยื่อโดยรอบ มักพบในผู้สูงอายุประมาณ 50 ปีขึ้นไป
7 ก.ค. 2565
การใช้อาหารบำบัดโรคหมายถึง การอาศัยสารอาหารชนิดพิเศษที่มีอยู่ในอาหารมาประกอบกับวิธีการปรุงที่เหมาะสมเพื่อบำบัดโรค ซึ่งมีหลักการหลายประการ เช่น ทฤษฎีอินหยาง
28 มิ.ย. 2565
สาเหตุพื้นฐานของการเกิดภาวะเบื่ออาหารในเด็กมักเกี่ยวข้องกับการทานอาหารที่ไม่เหมาะสมหรือขาดคุณค่าทางโภชนาการในเด็ก เมื่อระยะโรคดำเนินเป็นเวลานาน
15 มิ.ย. 2565
โดยทางศาสตร์การแพทย์แผนจีน การนอนไม่หลับนั้นจะส่งผลกระทบต่อกระเพาะอาหารและม้าม ทำให้เกิดโรคทางระบบทางเดินอาหารได้ง่าย หากนอนไม่หลับเป็นระยะเวลานานจะส่งผลให้เกิดความเสียหายเรื้อรังต่ออวัยวะอื่นๆ
6 พ.ค. 2565
การประเมินความปวด โดยผู้ป่วยให้คะแนนความปวดด้วยตนเอง ด้วยมาตรวัดความปวดแบบตัวเลข (numerical rating scale: NRS)
31 มี.ค. 2565
นวดกดจุดกระตุ้นบำรุงสารจิงของไตในเด็กเล็ก เสริมสร้างสมองและปัญญา ช่วยเสริมสร้างน้ำและไฟในไตแข็งแรง กระตุ้นชี่ต้นทุนแต่กำเนิดเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้ไขกระดูก เอวและเข่าแข็งแรง
25 มี.ค. 2565
เมื่อการไหลเวียนของเส้นลมปราณนี้เริ่มตั้งแต่หัวจรดเท้า ไหลเวียนไม่ดี มีการอุดตันจะส่งผลให้เกิดความผิดปกติในร่างกาย เช่น ปวดหัวไมเกรน ร้าวถึงเบ้าตา หูอื้อ มีเสียงในหู ปวดตึง คอบ่าไหล่ นอนหลับยาก ตื่นบ่อย ใจสั่น ตกใจง่าย จุกเสียดชายโครง
24 มี.ค. 2565
ภัยเงียบ ที่มีการดำเนินของโรคใช้เวลานับสิบๆปี อาจไม่มีอาการเจ็บป่วยหรืออาการอื่นใด จนวันหนึ่งกระดูกเกิดร้าวหรือหักขึ้นมาเพียงแค่ได้รับความกระเทือนเพียงเล็กน้อยเช่น การไอ การจาม หรือแค่ยกของเบาๆ
17 มี.ค. 2565
อาการปวดตึงบริเวณข้อมือฝั่งนิ้วหัวแม่มือ หากต้องเขียนหนังสือ ขับรถ เปิดขวดน้ำ ปลอกเปลือกผลไม้ จะรู้สึกเจ็บมากจนมีผลกับการใช้ชีวิตประจำวัน
26 ม.ค. 2565
อาการที่ทำให้หลายๆคนสะดุ้งตื่นกลางดึก และเกิดความเจ็บปวดอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนอาการจะทุเลาลง โดยมักจะเกิดกับกล้ามเนื้อด้านหลังต้นขา (Hamstrings) หรือ ด้านหลังของน่อง (Calf)
2 ธ.ค. 2564
อาการอักเสบที่เกิดขึ้นกับพังผืดใต้ฝ่าเท้า โดยผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดบริเวณส้นเท้าด้านในหรือตามแนวแถบของพังผืด ในตอนเช้าอาการปวดจะมีลักษณะแปล๊บๆ เหมือนมีอะไรมาแทงบริเวณส้นเท้า หรือปวดแบบโดนของร้อน ทำให้เวลาที่วางส้นเท้าลงกับพื้นอาจมีอาการสะดุ้ง อาการปวดจะค่อยๆ เบาลงเมื่อเดินไปได้ 2-3 ก้าว และสามารถกลับมาปวดมากเหมือนเดิมได้ใหม่ หากยืนเป็นระยะเวลานานหรือลุกขึ้นจากการนั่งพักนานๆ
30 พ.ย. 2564
เป็นการบาดเจ็บที่พบได้บ่อยมากในนักวิ่ง นักปั่น หรือ นักเดินทางไกล ทำให้มีอาการปวดที่บริเวณหัวเข่าด้านนอก เกิดการอักเสบจากการเสียดสีกับกระดูก บริเวณเข่าด้านข้าง เวลามีการเคลื่อนไหวของเข่า เป็นๆหายๆ โดยเฉพาะเวลาวิ่งในทางชัน
18 พ.ย. 2564
หรือบาดเจ็บบริเวณข้อเข่า เป็นสิ่งที่พบได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจจะเกิดจากอุบัติเหตุที่ทำให้เกิดการปะทะอย่างรุนแรงบริเวณข้อเข่า เช่น การหกล้ม การตกจากที่สูง หรือการประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ เป็นต้น หรือ เกิดจากการออกกำลังกาย บาดเจ็บจากกีฬา
18 พ.ย. 2564
สาเหตุหลักมาจากแรงกระทำภายนอก หรือเกิดการบาดเจ็บล้าเป็นเวลานาน ซึ่งมีการบาดเจ็บเกิดขึ้นที่เส้นเอ็นบริเวณข้อมือ กล้ามเนื้อ ปลอกเอ็นหุ้ม ได้รับแรงมากเกินไปทำให้เกิดการอักเสบ ในทางคลินิกจะมีอาการ บวมบริเวณข้อมือ ปวดข้อมือ การขยับข้อมือติดขัด
16 พ.ย. 2564
เป็นโรคหรือกลุ่มอาการชนิดหนึ่งที่มีอาการแสดงสำคัญ ได้แก่ อาการปวด บวม ฟกช้ำและการเคลื่อนไหวข้อเท้าติดขัด โรคนี้เป็นหนึ่งในอาการบาดเจ็บที่พบได้บ่อยในทางคลินิก สามารถพบได้ทุกเพศทุกวัย ส่วนใหญ่มักพบในวัยกลางคน และอาการบาดเจ็บจากกีฬา