2022-05-12
ชาวจีนโบราณมีคำกล่าวที่ว่า “ต้นไม้จะแห้งตายเริ่มที่ราก คนเราถ้าสูงวัยให้ดูที่ขาก่อน” ดังนั้น การมีชีวิตที่ยืนยาวและมีสุขภาพดี ควรเริ่มต้นดูแลขาและเท้าเป็นอันดับแรก
2022-05-11
ในทางแพทย์แผนจีนอาการตะคริวนั้นมีสาเหตุมาจาก 2 สาเหตุหลักใหญ่ๆ นั่นคือ “ความเย็น” และ “เลือด”
2022-05-10
เลือดออกจากช่องคลอดกะปริบกะปรอยไม่หยุด บางครั้งอาจมีเลือดออกมาก หรือบางครั้งอาจมีเลือดออกมากสลับน้อย มักมีอาการ่วมกับรอบเดือนที่ไม่แน่นอน ปริมาณประจำเดือนที่ผิดปกติ
2022-05-10
ดวงตาของมนุษย์สามารถแสดงออกถึงอาการหลายๆอย่างที่เกิดจากตับได้ ในทฤษฏีพื้นฐานการแพทย์แผนจีนได้กล่าวไว้ว่า ตับเปิดทวารที่ตา ภาวะโรคต่างๆของตับนั้นจะแสดงออกได้ทางดวงตา
2022-05-06
การประเมินความปวด โดยผู้ป่วยให้คะแนนความปวดด้วยตนเอง ด้วยมาตรวัดความปวดแบบตัวเลข (numerical rating scale: NRS)
2022-04-21
เวลาทานขิงเข้าไปจะรู้สึกได้ถึงความเผ็ดร้อนจนเหงื่อซึมเลยทีเดียว ในตำรายาสมุนไพรจีน ขิง มีฤทธิ์อุ่น รสเผ็ดร้อน มีสรรพคุณขับไล่ความเย็นได้ดี ช่วยให้ปอดชุ่มชื้น ร่างกายอบอุ่น ขับเหงื่อให้ออกมาทางรูขุมขน จึงสามารถลดไข้ที่เกิดจากลมเย็นได้
2022-04-19
อวัยวะที่สำคัญในการดำรงชีวิตของเรานั่นคือ ดวงตา หากไม่ดูแลดวงตาให้ดี สายตาเรานั้นจะค่อยๆถดถอยเสื่อมลงตามอายุ โดยเฉลี่ยอายุ 40-45 ปี สายตาจะค่อยๆเสื่อมลง
2022-04-19
พบได้ตั้งแต่วัยรุ่นจนถึงวัยก่อนหมดประจำเดือน การที่ประจำเดือนมาช้าอาจส่งผลเสียกับผู้หญิงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ อีกทั้งยังเพิ่มความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดภาวะมีบุตรยากอีกด้วย
2022-04-05
อาการปวดศีรษะช่วงมีประจำเดือนสัมพันธ์กับอวัยวะตับ เนื่องด้วยเส้นลมปราณตับส่วนหนึ่งมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันกับศีรษะ อีกทั้งตับเป็นอวัยวะที่มีหน้าที่กักเก็บเลือด หากเลือดพร่องหรือเลือดคั่ง เลือดไหลเวียนติดขัด ทำให้เลือดไปหล่อเลี้ยงศีรษะไม่เพียงพอ ส่งผลให้เกิดอาการปวดศีรษะได้
2022-04-01
ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็น Long Covid จะมีอาการควบคุมน้ำตาลได้ยาก มีภาวะกล้ามเนื้อลีบ สารอาหารในร่างกายไม่เพียงพอ อ่อนเพลีย หายใจลำบาก และการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
2022-03-31
นวดกดจุดกระตุ้นบำรุงสารจิงของไตในเด็กเล็ก เสริมสร้างสมองและปัญญา ช่วยเสริมสร้างน้ำและไฟในไตแข็งแรง กระตุ้นชี่ต้นทุนแต่กำเนิดเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้ไขกระดูก เอวและเข่าแข็งแรง
2022-03-25
เมื่อการไหลเวียนของเส้นลมปราณนี้เริ่มตั้งแต่หัวจรดเท้า ไหลเวียนไม่ดี มีการอุดตันจะส่งผลให้เกิดความผิดปกติในร่างกาย เช่น ปวดหัวไมเกรน ร้าวถึงเบ้าตา หูอื้อ มีเสียงในหู ปวดตึง คอบ่าไหล่ นอนหลับยาก ตื่นบ่อย ใจสั่น ตกใจง่าย จุกเสียดชายโครง
2022-03-24
กลไกการเกิดโรค คือ เสินหัวใจขาดการหล่อเลี้ยง หรือ ถูกรบกวน จิตใจไม่สงบ การทำงานของเส้นลมปราณอินเฉียวม่าย หยางเฉียวม่ายขาดสมดุล หยางแกร่ง อินพร่อง อินหยางขาดสมดุล หยางไม่เข้าสู่อิน
2022-03-24
ภัยเงียบ ที่มีการดำเนินของโรคใช้เวลานับสิบๆปี อาจไม่มีอาการเจ็บป่วยหรืออาการอื่นใด จนวันหนึ่งกระดูกเกิดร้าวหรือหักขึ้นมาเพียงแค่ได้รับความกระเทือนเพียงเล็กน้อยเช่น การไอ การจาม หรือแค่ยกของเบาๆ
2022-03-17
เด็กมีปัญหาด้านการเจริญเติบโต มีความเกี่ยวข้องกับปัจจัยพฤิกรรมชีวิตไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง การฝังเข็ม เป็นอีกวิธีการปรับสมดุลของอวัยวะภายในที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเด็ก ไม่ว่าจะเป็น ตับ ม้าม ไต เพื่อให้อวัยวะเหล่านี้ทำงานได้อย่างเป็นปกติ บำรุงเลือด บำรุงชี่ รวมถึงสมดุลอินหยางในร่างกาย
2022-03-17
อาการปวดตึงบริเวณข้อมือฝั่งนิ้วหัวแม่มือ หากต้องเขียนหนังสือ ขับรถ เปิดขวดน้ำ ปลอกเปลือกผลไม้ จะรู้สึกเจ็บมากจนมีผลกับการใช้ชีวิตประจำวัน
2022-03-11
การรักษาในปัจจุบัน มีทั้งพฤติกรรมบำบัด การใช้ยา การผ่าตัดเพื่อใส่เครื่องกระตุ้นสมองส่วนลึก ในระยะเริ่มต้นสามารถนำศาสตร์การแพทย์แผนจีนเข้ามาร่วมรักษา ได้แก่ การฝังเข็ม ยาสมุนไพรจีนเพื่อลดความเครียด ความกังวลของเด็ก ลดอาการกระตุกเกร็งของกล้ามเนื้อ ถือเป็นอีกหนึ่งวิธีรักษาที่ได้ผลดี
2022-02-25
รักษาด้วยการฝังเข็ม โดยใช้หลักการรักษา ระบายไฟตับ กระตุ้นการไหลเวียนเลือด ขับพิษ ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดปลายประสาทหลังจากผื่นงูสวัดหายแล้ว และอาจมีอาการกำเริบช่วงที่อากาศเปลี่ยนแปลง
2022-02-08
แพทย์จีนตรวจวินิจฉัยโรคแบบองค์รวม โดยนำข้อมูลจากทั้งตัวผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อมต่างๆ มาร่วมพิจารณาหาสาเหตุของโรค อาศัยการซักประวัติอย่างละเอียด
2022-01-31
ต่อมลูกหมากมีสรีระวิทยาที่ค่อนข้างพิเศษ ศาสตร์การแพทย์แผนจีนกล่าวถึงต่อมลูกหมากตามอวัยวะตัน (脏) ไว้ว่า “เก็บกักแต่ไม่ระบายออก” “เต็มได้แต่ห้ามแกร่ง” อธิบายตามลักษณะของอวัยวะกลวง (腑) ไว้ว่า “ระบายโดยไม่เก็บกัก” “แกร่งแต่ไม่เต็ม”
2022-01-26
อาการที่ทำให้หลายๆคนสะดุ้งตื่นกลางดึก และเกิดความเจ็บปวดอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนอาการจะทุเลาลง โดยมักจะเกิดกับกล้ามเนื้อด้านหลังต้นขา (Hamstrings) หรือ ด้านหลังของน่อง (Calf)
2022-01-18
แพทย์แผนจีนมีวิธีการนวดกดจุดลดอาการปวดท้องประจำเดือน ซึ่งเป็นวิธีการง่ายๆสามารถทำได้เองบ่อยๆ ช่วยบรรเทาอาการปวดได้ดีทีเดียว
2022-01-12
ปัจจัยภายใน มักเกิดจากภาวะทางอารมณ์ที่ฉุนเฉียวโมโห ตกใจกลัว ลมและไฟของตับและถุงน้ำดีรุกรานเบื้องบน หรืออาจเกิดจากเลือดคั่ง เสมหะอุดกั้นทวารหูทำให้ชี่ของเส้นลมปราณเส้าหยางอุดกั้น หรือ ชี่และเลือดพร่อง ไม่สามารถหล่อเลี้ยงทวารหูจึงเกิดอาการหูดับเฉียบพลัน
2022-01-10
ในศาสตร์การแพทย์แผนจีนเรียกว่า "丹毒 ตานตู๋" คือ โรคผิวหนังชนิดหนึ่งมีลักษณะผิวหนังบริเวณนั้น เป็นผื่นสีแดงสดเหมือนสีชาดมีอาการอักเสบบวมแดง ที่เกิดจาการติดเชื้อแบคทีเรียของผิวหนังชั้นแท้ (Dermis) และเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังชั้นตื้น (Upper Subcutaneous Tissue) รวมถึงท่อน้ำเหลืองที่อยู่ใกล้เคียง โรคนี้จัดเป็นประเภทหนึ่งของโรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ (Cellulitis) แต่มีความรุนแรงน้อยกว่า
2021-12-21
เมื่อเกิดการติดเชื้อ Covid-19 เชื้อไวรัสมักบุกรุกร่างกาย ส่งผลต่อการทำงานของอวัยวะในหลายระบบ ในผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่ได้รับการรักษาและหายจากการติดเชื้อ Covid-19 แล้วนั้น ก็มักพบร่องรอยของโรคและอาการที่อาจตามมาได้ค่อนข้างหลากหลาย เช่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ หายใจลำบาก ไอ นอนไม่หลับ ความดันโลหิตสูงหรือต่ำ
2021-12-02
อาการอักเสบที่เกิดขึ้นกับพังผืดใต้ฝ่าเท้า โดยผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดบริเวณส้นเท้าด้านในหรือตามแนวแถบของพังผืด ในตอนเช้าอาการปวดจะมีลักษณะแปล๊บๆ เหมือนมีอะไรมาแทงบริเวณส้นเท้า หรือปวดแบบโดนของร้อน ทำให้เวลาที่วางส้นเท้าลงกับพื้นอาจมีอาการสะดุ้ง อาการปวดจะค่อยๆ เบาลงเมื่อเดินไปได้ 2-3 ก้าว และสามารถกลับมาปวดมากเหมือนเดิมได้ใหม่ หากยืนเป็นระยะเวลานานหรือลุกขึ้นจากการนั่งพักนานๆ
2021-11-30
เป็นการบาดเจ็บที่พบได้บ่อยมากในนักวิ่ง นักปั่น หรือ นักเดินทางไกล ทำให้มีอาการปวดที่บริเวณหัวเข่าด้านนอก เกิดการอักเสบจากการเสียดสีกับกระดูก บริเวณเข่าด้านข้าง เวลามีการเคลื่อนไหวของเข่า เป็นๆหายๆ โดยเฉพาะเวลาวิ่งในทางชัน
2021-11-26
โรคที่มีลักษณะใกล้เคียงกับลมพิษ กลไกการเกิดลมพิษ ชนิดฉับพลันและเรื้อรัง การรักษาลมพิษในศาสตร์แพทย์แผนจีนแพทย์จีนมีวิธีการรักษาอย่างไร ? การแยกแยะกลุ่มอาการ การเลือกใช้ตำรับยาจีน
2021-11-24
โรคทางระบบนรีเวชที่เกี่ยวข้องกับการคลอดและภาวะหลังคลอดบุตร ซึ่งพบได้บ่อย และเกิดขึ้นในช่วงเพิ่งคลอดจนถึงระยะหกสัปดาห์หลังคลอด
2021-11-18
หรือบาดเจ็บบริเวณข้อเข่า เป็นสิ่งที่พบได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจจะเกิดจากอุบัติเหตุที่ทำให้เกิดการปะทะอย่างรุนแรงบริเวณข้อเข่า เช่น การหกล้ม การตกจากที่สูง หรือการประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ เป็นต้น หรือ เกิดจากการออกกำลังกาย บาดเจ็บจากกีฬา